270 likes | 912 Views
การวิจัยแบบกรณีศึกษา ( Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์. หัวข้อนำเสนอ. วิธีดำเนินการ. ประเภท. ความหมาย. ลักษณะสำคัญ. ข้อดีและข้อจำกัด. ความหมาย. กรณีหรือสิ่งที่นักวิจัยทำการสืบค้นหาความรู้ความจริง. เป็นระบบใดระบบหนึ่ง ที่มีขอบเขตเฉพาะเจาะจง บุคคล, กลุ่มบุคคล
E N D
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research)อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
หัวข้อนำเสนอ วิธีดำเนินการ ประเภท ความหมาย ลักษณะสำคัญ ข้อดีและข้อจำกัด
ความหมาย กรณีหรือสิ่งที่นักวิจัยทำการสืบค้นหาความรู้ความจริง เป็นระบบใดระบบหนึ่ง ที่มีขอบเขตเฉพาะเจาะจง • บุคคล, กลุ่มบุคคล • โครงการ, เหตุการณ์ • สถานที่, ชุมชน , องค์กร • เวลา ความหมายของการวิจัยแบบกรณีศึกษา เป็นวิธีการหรือกลยุทธ์ดำเนินการสืบค้นหรือตรวจสอบปรากฏการณ์ภายในบริบทที่แวดล้อมปรากฏการณ์นั้น ผลผลิตสุดท้ายของการสืบค้นหาความรู้ความจริง เป็นการพรรณนาและวิเคราะห์ปรากฏการณ์อย่างละเอียดลุ่มลึกและเป็นแบบองค์รวม กระบวนการสืบค้นหาความรู้ ความจริง
ลักษณะสำคัญ ธรรมชาติ ลุ่มลึก หลากหลายรูปแบ ลักษณะสำคัญของการวิจัยแบบกรณีศึกษา ลึกซึ้ง ค้นหาแบบแผนของปรากฎการณ์ บรรยาย/อธิบาย
ประเภทของกรณีศึกษา • ชาติพันธุ์วรรณนา • ประวัติศาสตร์ • จิตวิทยา • สังคมวิทยา • การศึกษา สาขาวิชา จุดมุงหมายรวม • พรรณนา • ตีความ • ประเมิน ประเภท จุดมุ่งหมายเฉพาะ • เน้นสาระภายใน • เน้นสารภายนอก • รวมกลุ่ม
ผู้อ่านทราบและเข้าใจความเป็นจริงอย่างลุ่มลึกและกระจ่างชัดผู้อ่านทราบและเข้าใจความเป็นจริงอย่างลุ่มลึกและกระจ่างชัด ข้อมูลสารสนเทศสะท้อนคุณสมบัติของกรณีที่ศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับกรณีที่ศึกษาเท่านั้น เก็บรวบรวมข้อมูลภายใต้สภาวการณ์ปกติธรรมชาติ ไม่ต้องควบคุม คาดหมาย หรือ จัดกระทำสิ่งใดๆ ข้อมูลที่ได้เป็นไปตามสภาพจริง เข้าใจง่าย และ- นำไปใช้ในการกำหนดแผนงาน/โครงการ ปรับปรุงการปฏิบัติงานได้ง่าย ข้อดี
ไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากรได้ไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากรได้ ผู้วิจัยต้องมีความรู้และประสบการณ์มาก ใช้งบประมาณและเวลามาก ผู้อ่านต้องอ่านอย่างวิเคราะห์และอย่างมีวิจารณญาณ ข้อจำกัด
วิธีดำเนินการ การดำเนินงานภาคสนาม การเขียนรายงาน การออกแบบ
- กำหนดคำถามหลัก • กำหนดคำถามย่อย • คัดเลือกคำถาม • ปรับปรุงแก้ไขคำถาม - กำหนดขอบเขตเป็น บุคคล กลุ่มบุคล โครงการ สถานการณ์ ชุมชน องค์กร ช่วงเวลา สถานที่ - เลือกตัวอย่าง - ภัยอันตรายและการเสี่ยงภัย • ความซื่อสัตย์และความไว้วางใจ • ความลับและความรู้สึกเป็นส่วนตัว การออกแบบ - สังเกตแบบมีส่วนร่วม สัมภาษณ์แบบเจาะลึก ทบทวนเอกสาร หลักฐานร่องรอย • วิเคราะห์ค้นหาข้อสรุปและตีความหมาย • ตรวจสอบข้อมูลจากหลายแหล่งและหลายวิธี การกำหนดประเด็นคำถามวิจัย การเลือกวิธีเก็บ/วิเคราะห์/ตรวจสอบข้อมูล การออกแบบ การกำหนดขอบเขตและการเลือกกรณีเฉพาะ การพิจารณาความเหมาะสมด้านจริยธรรม
ตัวอย่างคำถามหลัก อะไรเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ทะเลาะวิวาทของนักเรียนวัยรุ่น พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่น เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทที่เกิดขึ้นมีความหมายต่อผู้เกี่ยวข้องอย่างไร เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่นเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตัวอย่างคำถามหลัก/คำถามย่อยตัวอย่างคำถามหลัก/คำถามย่อย ผลจากการทะเลาะวิวาทคืออะไร อะไรเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ทะเลาะวิวาทของนักเรียนวัยรุ่น นักเรียนที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ทะเลาะวิวาทคือใคร มีบุคลิกลักษณะอย่างไร และเข้าร่วมเหตุการณ์ได้อย่างไร
ตัวอย่างคำถามหลัก/คำถามย่อยตัวอย่างคำถามหลัก/คำถามย่อย เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทที่เกิดขึ้นมีความหมายต่อผู้เกี่ยวข้องอย่างไร ผู้บริหารโรงเรียน ครู/ตำรวจ/ผู้ปกครอง และนักเรียนวัยรุ่นมีเจตคติต่อเหตุการณ์นี้อย่างไร เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทมีความหมายอะไรบ้างกับนักเรียนวัยรุ่นในกลุ่มผู้แพ้และผู้ชนะ
ตัวอย่างคำถามหลัก/คำถามย่อยตัวอย่างคำถามหลัก/คำถามย่อย มีปัจจัยภายในตัวนักเรียนอะไรบ้างที่เกี่ยวพันกับพฤติกรรมทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่น เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่นเกิดขึ้นได้อย่างไร มีปัจจัยสิ่งแวดล้อมอะไรบ้างที่เกี่ยวพันกับพฤติกรรมทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่น
การถอนตัวออกจากสถานที่ทำการศึกษา ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้าพร้อมด้วยเหตุผล เพื่อให้เกิดปรับความรู้สึกที่ดีต่อกัน การเข้าหาแหล่งข้อมูลหลักฐาน เป็นการแสดงตัวและสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลที่เข้าร่วมในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และตรวจสอบความถูกต้อง/เชื่อถือได้ และ ความจริงแท้ของข้อมูล ดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่เข้มงวดรัดกุมหรือเป็นทางการมากเกินไป การดำเนินงานภาคสนาม
การเขียนรายงาน รายละเอียดเกี่ยวกับกรณีศึกษา การแสดงรายละเอียดข้อมูล เอกสาร ประเด็นปัญหา จุดมุ่งหมาย และระเบียบวิธีวิจัย การสร้างและพัฒนาประเด็นคำถาม บทนำ การแสดงข้อความสรุปและยืนยัน บทส่งท้าย
อ่านเข้าได้ง่าย เนื้อหาแต่ละส่วนสอดคล้องกัน มีกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีรองรับ ประเด็นปัญหาและคำถามเป็นไปตามหลักวิชาการ กรณีที่ศึกษาและบริบทมีการนิยามอย่างชัดเจน นำเสนอเนื้อหาสาระอย่างน่าสนใจและเห็นภาพพจน์ ยกคำพูดของผู้ให้ข้อมูลสำคัญมานำเสนออย่างเหมาะสม เขียนหัวข้อ แสดงภาพ ประกอบรายงานอย่างถูกต้องเหมาะสม ข้อสรุปของการตีความข้อมูลมีความสมเหตุสมผลตามหลักฐาน แสดงข้อมูลดิบอย่างเพียงพอ คัดเลือกแหล่งข้อมูลและหลักฐานอย่างเพียงพอ แสดงการตรวจสอบข้อมูล หลักฐาน และแหล่งข้อมูล อย่างถูกต้องและน่าเชื่อถือ คุณภาพของรายงานการวิจัย
Thank you! Contact Address: SompongPunturat Tel: 081 872 9558 Email: sompo_pu@kku.ac.t home.kku.ac.th/sompo_pu/spweb