200 likes | 407 Views
เขตบริการสุขภาพที่ 5. กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี. สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์. การให้บริการขาเทียม โรงพยาบาลราชบุรี. บุคลากร - แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู 2 คน - ช่างกายอุปกรณ์ 5 คน - เจ้าพนักงานธุรการ 1 คน.
E N D
เขตบริการสุขภาพที่ 5 กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์
การให้บริการขาเทียม โรงพยาบาลราชบุรี บุคลากร - แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู 2 คน - ช่างกายอุปกรณ์ 5 คน - เจ้าพนักงานธุรการ 1 คน
รองเท้าเบาหวานและการดัดแปลงรองเท้ารองเท้าเบาหวานและการดัดแปลงรองเท้า
ดัดแปลงและซ่อมรถนั่งคนพิการดัดแปลงและซ่อมรถนั่งคนพิการ
ปริมาณงาน งานกายอุปกรณ์
ปริมาณขาเทียม ต.ค.56 - พ.ค.57
บริการกายอุปกรณ์ในโรงพยาบาลโพธาราม พ.ค.56-พ.ค.57
งบประมาณ • กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • กองทุนสวัสดิการข้าราชการ • กองทุนประกันสังคม • กองทุนเงินทดแทน • เงินบริจาค
การดำเนินงานตามตัวชี้วัด จังหวัดราชบุรี • สสจ. ดำเนินการให้มีการสำรวจผู้พิการขาขาดและรวบรวมข้อมูล(ตามแบบฟอร์มของศูนย์สิรินธรฯ) • ประสานโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้บริการ • ส่งผู้พิการไปรับบริการ • ประสานแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูพิจารณารายที่มีปัญหา • สรุปผลการดำเนินงาน
การดำเนินงานตามตัวชี้วัด จังหวัดราชบุรี ผลการดำเนินงาน • ผลการสำรวจ 15 พ.ค.57 มีผู้พิการขาขาด จำนวน 300 คน ได้รับขาเทียมหรืออุปกรณ์แล้ว 214 คน คิดเป็น 71.3% • หลังจากส่งผู้พิการเข้ารับบริการ ผลการประเมิน ณ วันที่10 มิ.ย.57 มีผู้ได้รับบริการเพิ่มขึ้น 41 คน รวมเป็นผู้ได้รับบริการแล้ว 255 คน คิดเป็น 85%
ปัญหา/อุปสรรค • ความเหลื่อมล้ำในการจ่ายค่ากายอุปกรณ์จากทั้ง 3 กองทุน ทั้งจำนวนรายการและราคาราคาที่กำหนดไม่เป็นปัจจุบัน • มีความหลากหลายในรูปแบบของขาเทียมที่ให้บริการรวมทั้งคุณภาพและราคา ทำให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ผู้รับบริการในแต่ละพื้นที่ • หน่วยให้บริการมีน้อยมีไม่ครบทุกจังหวัด ผู้พิการต้องเดินทางมาไกลเพื่อรับบริการ บางรายรอจนขาเทียมชำรุดมาก • มีปัญหาความทนทานของวัสดุบางรายการที่ชำรุดง่ายทำให้ต้องเปลื่ยนบ่อยเช่น เข็มขัดขาเทียม ฝ่าเท้าเทียม เป็นต้น • งบประมาณไม่เพียงพอ
ความต้องการให้สนับสนุนความต้องการให้สนับสนุน • สนับสนุนงบประมาณให้เพียงพอ และมีการตรวจสอบการเบิกจ่ายที่เข้มแข็ง • องค์ความรู้เกี่ยวกับการทำขาเทียม รวมทั้งเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย อาจจะเป็นรูปแบบในการอบรมหรือเอกสาร หรือทางสื่อ on line • สนับสนุนให้มีการวิจัยและพัฒนา การทำขาเทียมทั้งในด้านคุณภาพและราคา
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา • พัฒนาให้มีงานกายอุปกรณ์ อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง • ปรับเปลี่ยนการสนับสนุนงบประมาณของทั้ง 3 กองทุน ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน • รูปแบบขาเทียมที่ให้บริการควรมีมาตรฐานเดียวกัน ตามข้อบ่งชี้ ผู้พิการสามารถจ่ายส่วนเกิน ถ้าต้องการขาเทียมที่มีราคาสูงเกินมาตรฐานตามข้อบ่งชี้ • มีการสร้างระบบการประเมินและรับรองคุณภาพของวัสดุกายอุปกรณ์ในส่วนที่เป็นวัสดุหลักหรือราคาแพงจากบริษัทผู้จำหน่าย เพื่อให้โรงพยาบาลมีความมั่นใจในการเลือกซื้อ