560 likes | 1.91k Views
การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน Performance Based Budgeting : PBB. กลุ่ม 6 วิทย บริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดนครราชสีมา. งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Based Budgeting : PBB). Outcome. Input. Output. ผลลัพธ์. ปัจจัย. ผลผลิต. Economy. Efficiency. Effectiveness. ประหยัด.
E N D
การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานPerformance Based Budgeting : PBB กลุ่ม 6 วิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดนครราชสีมา
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) Outcome Input Output ผลลัพธ์ ปัจจัย ผลผลิต Economy Efficiency Effectiveness ประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หลัก 3 E 7
ลักษณะความสำคัญของงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) • ให้ความสำคัญกับผลผลิต (Output)และผลลัพธ์(Outcome) • ใช้การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) • จัดสรรงบประมาณเป็นวงเงินรวม (BlockGrant) • คำนวณค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณจากผลผลิตหรือกิจกรรม • กำหนดวงเงินงบประมาณล่วงหน้า (MTEF ) • ใช้ระบบบัญชีพึงรับพึงจ่าย (Accrual Basis) • เน้นการควบคุมภายใน • การรายงานผลเชื่อมโยง 7
ประโยชน์ของงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) • ทราบผลลัพธ์ที่รัฐบาลต้องการ • ระบุเป้าประสงค์ และวัดผลผลิตได้ • จัดลำดับความสำคัญของรายจ่ายและเชื่อมโยงผลผลิตกับผลลัพธ์ได้ • แสดงให้เห็นว่าผลผลิตที่เกิดขึ้นส่งผลให้เกิดผลลัพธ์อย่างไร • สามารถตรวจวัดผลผลิตที่เกิดขึ้นอย่างถูกต้อง • ในเชิง ปริมาณ ต้นทุน เวลา คุณภาพ 7
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) หัวใจของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน คือ การเชื่อมโยงทรัพยากรต่าง ๆ ที่ใช้และผลงานที่เกิดขึ้นโดยมีระบบการประเมินทบทวน ตรวจสอบผลงานที่เป็นระบบเป็นรูปธรรม และที่สำคัญหน่วยงานต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อผลงานที่ได้สร้างขึ้นมา สำหรับผลงานในความหมายของ PBB หมายถึง “ผลลัพธ์และผลผลิต” 7
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) ผลผลิต(Outputs) หรือผลผลิตหลัก คือ สิ่งของหรือบริการที่เป็นรูปธรรมหรือรับรู้ได้ที่จัดทำหรือผลิต โดยหน่วยงานของรัฐเพื่อให้บุคคลภายนอกได้ใช้ประโยชน์ ผลผลิตคือการตอบคำถามที่ว่า อะไรที่ได้รับจากการดำเนินงานผลิต หรือให้บริการ เช่น... 7
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) ผลลัพธ์(OUTCOMES)เป็นผลงาน ผลกระทบที่มีต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม (กลุ่มเป้าหมาย) จากการได้รับประโยชน์จากการบริการและบริหาร (ผลผลิต) ที่เกิดจากการดำเนินงาน โดยสถานศึกษา ผลลัพธ์จะตอบคำถามว่า ทำไมจึงมีการดำเนินการผลิตหรือให้บริการนั้น เช่น...
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน มุ่งเน้นผลงานและผลผลิต “เน้นการควบคุมทรัพยากรมากกว่าผลสำเร็จ ในการผลิตผลผลิต”
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน 2. ความโปร่งใสและการรายงาน “กำหนดกรอบการรายงานผลประจำปีและการรายงาน ผลทางการเงินที่สอดคล้องกับการกระจาย ความรับผิดชอบในการจัดทำงบประมาณ”
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน 3. กระจายความรับผิดชอบในการจัดเตรียมงบประมาณ “การปฏิรูปกระบวนการจัดทำงบประมาณโดยให้ หน่วยราชการเป็นผู้จัดเตรียม รายละเอียดงบประมาณ ให้อยู่ในกรอบเป้าหมายที่กำหนดจากหน่วยงานกลาง”
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน 4. กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง (MTEF) “เสนอให้มีการทำ กรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้า ระยะปานกลาง (MTEF) เพื่อประสิทธิภาพใน การจัดสรรงบประมาณ”
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(Performance Based Budgeting : PBB) ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน 5. ความครอบคลุมของงบประมาณ “รายรับ-รายจ่ายงบประมาณ ต้องสะท้อนถึงการใช้จ่าย ที่แท้ จริงของภาครัฐ มาตรฐานการจัดการทางการเงิน”
งบประมาณที่มุ่งเน้นผลงาน 7 ประการ 7 Hurdles PerformanceBasedBudgeting : PBB 1 การวางแผนงบประมาณ 2 การคำนวณต้นทุนของกิจกรรม 3 การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง 4 การบริหารทางการเงิน/งบประมาณ 5 การรายงานการเงินและผลการดำเนินงาน 6 การบริหารสินทรัพย์ การตรวจสอบภายใน 7
มาตรฐานที่ 1 การวางแผนงบประมาณ แผนกลยุทธ์สถานศึกษา + แผนงานประจำ (SCHOOL STRATEGIC & ROUTINEPLAN) กรอบประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า ระยะปานกลาง (MEDIUM TERM EXPENDITURE FRAMEWORK:MTEF) 11 7
มาตรฐานที่ 2 การคำนวณต้นทุนผลผลิต ( Output Costing ) เป็นการคิดต้นทุนการดำเนินการต่อหน่วยผลผลิตของกิจกรรมภายใต้โครงการตามแผนกลยุทธ์สถานศึกษา 12
มาตรฐานที่ 2 การคำนวณต้นทุนผลผลิต ( Activity - Based Costing ) • การกำหนดกิจกรรม • การคิดต้นทุนกิจกรรม และ • การวัดผลการปฏิบัติงาน 12
ระบบการจัดซื้อจัดจ้างระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ( Procurement management ) มาตรฐานที่ 3 วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง 1. วิธีตกลงราคา คือ การซื้อ หรือการจ้างครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท 2. วิธีสอบราคา คือ การซื้อ หรือการจ้างครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท 3. วิธีประกวดราคา คือ การซื้อ หรือการจ้างครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 2,000,000 บาท 13
ระบบการจัดซื้อจัดจ้างระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ( Procurement management ) มาตรฐานที่ 3 วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง 4. วิธีพิเศษ คือ การซื้อ หรือการจ้าง ซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท ตามระเบียบข้อ 23 (1) - (8) และข้อ 24 (1) - (6) 5. วิธีกรณีพิเศษ คือ การซื้อ หรือการจ้าง จากส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมาย 6. วิธีประกวดราคา ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ การซื้อ หรือการจ้าง ซึ่งมีราคาเกิน 2,000,000 บาท 13
ระบบการจัดซื้อจัดจ้างระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ( Procurement management ) มาตรฐานที่ 3 • กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง • การวางแผนการจัดซื้อ • การเลือกซื้อผู้ขาย • จัดทำใบสั่งซื้อ • ตรวจรับพัสดุ • เก็บดูแลรักษา/เบิกจ่าย • การติดตามและประเมินผล 13
ระบบการจัดซื้อจัดจ้างระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ( Procurement management ) มาตรฐานที่ 3 ที่แสดงถึง :- • ความโปร่งใส • ความยุติธรรม • ตรวจสอบได้ 13
จัดระบบการบริหารการเงินและจัดระบบการบริหารการเงินและ ควบคุมงบประมาณ ( Financial management&Budgetcontrol ) มาตรฐานที่ 4 • กำหนดระดับมาตรฐาน • กำหนดความรับผิดชอบในเรื่องบัญชีและการเงิน • ใช้ระบบบัญชีแบบพึงรับพึงจ่ายหรือบัญชีคงค้าง • GFMIS : Government Fiscal Management • Information System 14
จัดระบบการวางแผนการเงินและจัดระบบการวางแผนการเงินและ การรายงานผลการดำเนินการ (Financial & Performance Reporting) มาตรฐานที่ 5 • การแสดงความโปร่งใส • การตรวจสอบ • การประเมินผลโครงการ • การรายงานผลการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ 15
จัดระบบการบริหารสินทรัพย์จัดระบบการบริหารสินทรัพย์ (Asset management) มาตรฐานที่ 6 • การเพิ่มประสิทธิภาพและ • ประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากร • ความคุ้มค่าและคุ้มทุน 16
จัดระบบตรวจสอบภายใน ( Internal Audit ) มาตรฐานที่ 7 • ตรวจสอบผลการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ - ตรวจสอบผลผลิต จาก กิจกรรม ( Activity ) - ตรวจสอบผลลัพธ์ จาก โครงการ ( Program ) - ตรวจสอบผลกระทบ จาก แผนงาน ( Project ) • ตรวจสอบรายงานทางการเงิน - เทียบเคียงผลการดำเนินการกับงบประมาณที่ใช้ 17
การจัดทำงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ กระบวนการงบประมาณ vs7 Hurdles การงานแผนงบประมาณ การคำนวณต้นทุนผลผลิต การจัดการระบบจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารทางการเงินและควบคุมงบประมาณ การบริหารงบประมาณ การบริหารสินทรัพย์ การรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน การควบคุมและติดตามประเมินผล การตรวจสอบภายใน 25
จบเถอะ เหนื่อยแล้ว ขอบคุณ