170 likes | 587 Views
APEC Conference on Facilitating Trade in a Secure Trading Environment. ผู้บรรยาย : นางสาวศรุตา เบญจานุวัตรา. วัตถุประสงค์ของการสัมมนา.
E N D
APEC Conference on Facilitating Trade in a Secure Trading Environment ผู้บรรยาย : นางสาวศรุตา เบญจานุวัตรา
วัตถุประสงค์ของการสัมมนา • แลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูล ประสบการณ์และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยทางการค้าและปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการควบคุมการส่งออกของสินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Goods) • ระดมความคิดเห็นเพื่อหาแนวทางการปฏิบัติสำหรับมาตรการอำนวยความสะดวกเพื่อประกันความปลอดภัยทางการค้าสินค้าที่ใช้ได้สองทาง • หาแนวทางในการส่งเสริมความร่วมมือในระดับภูมิภาคของประเทศสมาชิก
คำจำกัดความ • สินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual-Use Goods) • อาวุธที่มีอำนาจทำลายสูง (Weapons of Mass Destruction - WMD) • ระบอบควบคุมการส่งออกสากล (Export Control Regime) • ระบบควบคุมการส่งออก (Export Control System) • การควบคุมการส่งออกสินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Export Control for Dual-Use Goods) • ทำไมถึงต้องมีระบบควบคุมการส่งออกสินค้าที่ใช้ได้สองทาง • ป้องกันไม่ให้มีการส่งผ่านหรือถ่ายโอนสินค้าที่ใช้ได้สองทางเทคโนโลยี สินค้าอื่นๆ และวัสดุเครื่องมือที่สามารถใช้เป็นส่วนประกอบในการทำ WMD ไปสู่ผู้ก่อการร้าย หรือกลุ่มบุคคลที่ไม่ใช่รัฐที่มีความเสี่ยงที่จะนำไปใช้ในการก่อการร้าย
UNSCR 1540 (2004) ข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ที่ 1540(United Nations Security Council Resolution 1540) (2004) • รับรองข้อมติอย่างเป็นเอกฉันท์ เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2547 (ค.ศ. 2004) • ไม่แพร่ขยายอาวุธที่มีอำนาจทำลายสูง (อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธรังสี อาวุธเคมี หรืออาวุธชีวภาพ) • มีระบบควบคุมการส่งออกที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมการส่งออก การส่งผ่าน การขนถ่ายลำ และการนำเข้าและส่งกลับออกไป • ควบคุมในการให้ความช่วยเหลือด้านการเงิน
ระบอบควบคุมการส่งออกสากลระบอบควบคุมการส่งออกสากล • Wassenaar Arrangements (WA) – ปี 2538 (ค.ศ.1995) • ควบคุมการส่งออกอาวุธตามแบบและสินค้าที่ใช้ได้สองทาง • Missile Technology Control Regime (MTCR) – ปี 2530 (ค.ศ. 1987) • ควบคุมการส่งออกวัสดุ อุปกรณ์ที่อาจนำไปผลิตขีปนาวุธนำวิถี • Australia Group (AG) – ปี 2538 (ค.ศ. 1995) • ควบคุมการส่งออกวัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่นำไปผลิตอาวุธเคมีและอาวุธชีวภาพ • Nuclear Suppliers Group (NSG) – ปี 2528 (ค.ศ. 1985) • ควบคุมการส่งออกวัสดุอุปกรณ์นิวเคลียร์
รายการสินค้าควบคุมของสหภาพยุโรปรายการสินค้าควบคุมของสหภาพยุโรป • รายการสินค้าควบคุมของสหภาพยุโรป (EUList) • รายการสินค้าทางทหาร Common Military List (CML) • รายการสินค้าที่ใช้ได้สองทาง Common Dual-Use List • EU List รวมสินค้าควบคุมของระบอบควบคุมการส่งออกสากลให้อยู่ในรายการเดียว โดยได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยเป็นระยะ ตามความตกลงของระบอบควบคุมการส่งออกสากล • หลายประเทศได้ตกลงนำรายการสินค้าของสหภาพยุโรปมาใช้แล้ว เช่นประเทศสวิสเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ สิงคโปร์และสหรัฐอเมริกา • ประเทศไทยอยู่ระหว่างการพัฒนาและปรับปรุงรายการสินค้าที่ใช้ได้สองทางที่ต้องได้รับการควบคุม โดยใช้ EU List เป็นแนวทาง
รายการสินค้าที่ใช้ได้สองทางรายการสินค้าที่ใช้ได้สองทาง • รายการสินค้าที่ใช้ได้สองทาง Common Dual-Use List • หมวด 0: วัสดุนิวเคลียร์ โรงงานผลิต และอุปกรณ์ • หมวด 1: วัสดุ สารเคมี จุลชีวภาพและสารพิษ • หมวด 2: วัสดุ อุปกรณ์ในการผลิต • หมวด 3: อิเล็กทรอนิกส์ • หมวด 4: คอมพิวเตอร์ • หมวด 5: โทรคมนาคมและการรักษาความปลอดภัยข้อมูล • หมวด 6: เครื่องเซ็นเซอร์และเครื่องเลเซอร์ • หมวด 7: ระบบนำทางและการบิน • หมวด 8: ยานพาหนะทางน้ำ • หมวด 9: ระบบขับเคลื่อนจรวด ยานอวกาศ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
กรณีของประเทศออสเตรเลีย • มีระบบการควบคุมการส่งออก เพื่อ • เป็นการสนับสนุนข้อผูกพันระหว่างประเทศ • เพื่อการันตีว่าเทคโนโลยีและวัสดุอุปกรณ์ของประเทศออสเตรเลียจะไม่ถูกนำไปใช้เพื่อผลิต WMD • เพื่อยับยั้งการค้าที่ผิดกฎหมายของสินค้ายุทธศาสตร์และสินค้าทางทหาร • เพื่อสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมที่ถูกกฎหมาย
ความร่วมมือในภาครัฐบาลความร่วมมือในภาครัฐบาล ที่มา: Australia Customs and Border Protection Service
กรณีของประเทศมาเลเซีย • Strategic Trade Act 2010 (STA 2010) • วิธีการดำเนินการในการจัดทำ STA • ความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม และระหว่างหน่วยงาน • การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้าน IT ให้มากที่สุด • การให้ความช่วยเหลือทางด้านข้อมูลและกฎระเบียบ • พัฒนาผู้เชี่ยวชาญในด้านการดำเนินการและการบังคับใช้
กรณีของประเทศมาเลเซียกรณีของประเทศมาเลเซีย • ปัญหาและความท้าทาย • ยังอยู่ในขั้นตอนการเรียนรู้กฎระเบียบใหม่ • ขาดประสบการณ์และความชำนาญในการจัดการ • ขาดความรู้ความเข้าใจในภาครัฐและภาคเอกชน • การประสานระหว่างหน่วยงาน • ความสมัครใจในการผูกพันกับกฎระเบียบ • การบังคับใช้ยังเป็นไปด้วยความยากลำบาก
Commodity Identification Training (CIT) ที่มา: Export Control & Related Border Security (EXBS) และ National Nuclear Security Administration
สถานการณ์ปัจจุบันของไทย • หน่วยงานของไทยที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการส่งออกสินค้าที่ใช้ได้สองทาง • กระทรวงกลาโหม – อาวุธยุทธภัณฑ์และสิ่งที่ใช้ในทางสงคราม • กระทรวงอุตสาหกรรม – สารเคมีที่เป็นพิษและสารตั้งต้น • กระทรวงสาธารณสุข – สารชีวภาพ เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ • กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี – วัสดุต้นกำลัง นิวเคลียร์พิเศษ วัสดุกัมมันตรังสี • กระทรวงพาณิชย์ – ออกใบอนุญาตการส่งออกสินค้า พัฒนาและปรับปรุงรายการสินค้าที่ใช้ได้สองทางที่ต้องได้รับการควบคุม โดยกรมการค้าต่างประเทศ ซึ่งใช้รายการสินค้าควบคุมของสหภาพยุโรปเป็นแนวทาง • กระทรวงการคลัง - รับผิดชอบด้านการการนำเข้า ส่งออก การนำเข้ามาแล้วส่งออก การส่งผ่าน การขนถ่ายลำ การบังคับใช้กฎหมาย การสอบสวน และการฟ้องร้อง
สรุปผลการระดมความเห็น (1) แนวทางการปฏิบัติสำหรับการจัดการการค้าเชิงกลยุทธ์: กรอบกฎหมายและกฎระเบียบ/การบังคับใช้ การตรวจสอบ และการดำเนินคดี
สรุปผลการระดมความเห็น (2) แนวทางการปฏิบัติสำหรับการจัดการการค้าเชิงกลยุทธ์: การออกใบอนุญาตและการให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิค
เอกสารอ้างอิงและข้อมูลเพิ่มเติมเอกสารอ้างอิงและข้อมูลเพิ่มเติม • Ministry of International Trade and Industry: http://www.miti.gov.my/cms/content.jsp?id=com.tms.cms.section.Section_cf69eb55-c0a8156f-21ff21ff-5a58836b • UNSCR 1540: http://www.un.org/sc/1540/ • Wassenaar Arrangements (WA): http://www.wassenaar.org/ • Missile Technology Control Regime (MTCR): http://www.mtcr.info • Australia Group (AG): http://www.australiagroup.net/en/index.html • Nuclear Suppliers Group (NSG): http://www.nuclearsuppliersgroup.org/Leng/default.htm • กรมการค้าต่างประเทศ:http://www.dft.go.th/Default.aspx?tabid=75 • กรมการอุตสาหกรรมทหาร:http://did.mod.go.th/ • กรมโรงงานอุตสาหกรรม:www.diw.go.th • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์: www.dmsc.moph.go.th • สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ:www.oaep.go.th/ • กรมศุลกากร:www.customs.go.th