200 likes | 748 Views
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน. หนังสือหน้า 21. เลขหน้า 2/27. อุปทาน (Supply). 2.7 ความหมายของอุปทาน อุปทาน (supply) หมายถึง “ จำนวนสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ธุรกิจจะนำออกขายในตลาดแห่งหนึ่ง ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน ในระยะเวลาที่กำหนดให้ ”.
E N D
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน หนังสือหน้า 21 เลขหน้า 2/27 อุปทาน (Supply) 2.7 ความหมายของอุปทาน อุปทาน (supply) หมายถึง “จำนวนสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ธุรกิจจะนำออกขายในตลาดแห่งหนึ่ง ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน ในระยะเวลาที่กำหนดให้”
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ปัจจัย หนังสือหน้า 22 เลขหน้า 2/28 2.8 ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปทานและฟังก์ชันอุปทาน (supply determinants and supply function) 2.8.1 ปัจจัยกำหนดอุปทาน (supply determinants) 1) ระดับราคาสินค้าในตลาด (price : Px) 2) จุดมุ่งหมายของธุรกิจ (objective : O) 3) สภาพเทคโนโลยี (technology : t) 4) ต้นทุนการผลิต (cost : C) 5) การเปลี่ยนแปลงในระดับราคาของสินค้าและบริการอื่น ๆ (changing in the price of other related goods : Py) 6) ดินฟ้าอากาศหรือฤดูกาล (season : S)
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ฟังก์ชันอุปทาน หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/29 2.8.2 ฟังก์ชันอุปทาน (supply function) ฟังก์ชันอุปทานข้างต้นแปลความหมายได้ว่า จำนวนขายสินค้า ขึ้นอยู่กับราคาของสินค้าชนิด X(Px) จุดมุ่งหมายของธุรกิจ (O)สภาพเทคโนโลยี (T) ต้นทุนการผลิต (C)การเปลี่ยนแปลงในระดับราคาของสินค้าและบริการอื่น ๆ (Py) และดินฟ้าอากาศหรือฤดูกาล (S)
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/กฎของอุปทาน หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/31 2.9 กฎของอุปทาน (Low of supply) “ถ้าสิ่งอื่น ๆ อยู่คงที่ จำนวนขายสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันกับราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้นเสมอ”
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางและเส้นอุปทาน หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/32 2.10 ตารางอุปทานและเส้นอุปทาน (supply schedule and supply curve) ตารางอุปทานมีอยู่ 2 ประเภท คือ 2.10.1 ตารางอุปทานของหน่วยธุรกิจหรือผู้ผลิตแต่ละราย (individual supply schedule) เป็นตารางที่แสดงให้ทราบถึงจำนวนขายสินค้าและบริการของผู้ขายคนใดคนหนึ่ง ณ ระดับราคาต่าง ๆ กันในระยะเวลาที่กำหนดให้
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางและเส้นอุปทาน หนังสือหน้า 24 เลขหน้า 2/34 2.10.2 ตารางอุปทานรวมหรือตารางอุปทานของตลาด (total supply schedule or market supply schedule) เป็นชุดของตัวเลข ที่แสดงให้ทราบถึงจำนวนขายสินค้าและบริการของตลาด ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งการหาจำนวนขายของตลาดทำได้โดยรวมจำนวนขาย ผู้ขายทั้งหมดในตลาด ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน ภายในระยะเวลาที่กำหนดให้
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความแตกต่าง หนังสือหน้า 26 เลขหน้า 2/36 2.11 ความแตกต่างระหว่างการเปลี่ยนแปลง จำนวนขายและการเปลี่ยนแปลงอุปทาน 2.11.1 การเปลี่ยนแปลงจำนวนขาย (change in the quantity supplied) หมายถึง การที่จำนวนขายสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งเปลี่ยนไปเนื่องจากราคาสินค้าชนิดนั้น ๆ เปลี่ยนแปลงโดยที่ปัจจัย กำหนดอุปทานอื่น ๆ ทั้ง 5 ตัว อยู่คงที่ ในกรณีเช่นนี้ เส้นอุปทานจะไม่ เปลี่ยนแปลงแต่เป็นเพียงการ เคลื่อนย้ายไปตามเส้นอุปทาน (move along curve)
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความแตกต่าง หนังสือหน้า 26 เลขหน้า 2/37 S ราคาสูงขึ้น จะทำให้จำนวนเสนอขายเพิ่มขึ้น โดยมีการย้ายจุดบนเส้น SS(จาก Aไป B) ราคาลดลง จะทำให้จำนวนเสนอขายลดลง โดยมีการย้ายจุดบนเส้น SS (จาก A ไป C)
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความแตกต่าง หนังสือหน้า 26 เลขหน้า 2/38 2.11.2 การเปลี่ยนแปลงอุปทาน (change in supply) หมายถึง การที่ ปัจจัยกำหนดอุปทานอื่น ๆ เช่น จุดมุ่งหมายของธุรกิจ สภาพ เทคโนโลยี ต้นทุนการผลิต การเปลี่ยนแปลงในระดับราคา ของสินค้าและบริการอื่น และดินฟ้าอากาศหรือฤดูกาล ตัวใด ตัวหนึ่งหรือหลายตัวในจำนวนนี้ได้เปลี่ยนแปลงไป และมีผล ทำให้จำนวนขายเพิ่มขึ้นหรือลดลง ทั้ง ๆ ที่ระดับราคาสินค้า ยังคงเดิมในกรณีเช่นนี้จะทำให้มีการเคลื่อนย้ายของเส้น อุปทานทั้งเส้น (shift in supply curve) ซึ่งแตกต่างจากการ เปลี่ยนแปลงจำนวนขาย
ตารางที่ 2.6 การเปลี่ยนแปลงอุปทานสำหรับรองเท้า กรณีที่มีการใช้เทคโนโลยีแบบต่าง ๆ 2 1
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความแตกต่าง หนังสือหน้า 27 เลขหน้า 2/40 เส้นอุปทาน SS จะเปลี่ยนไปทางขวามือ เป็นเส้น S S เมื่อ • ต้องการยอดขาย •T • C• Py • S (อำนวย) 1 1 เส้นอุปทาน SS จะเปลี่ยนไปทางซ้ายมือ เป็นเส้น S S เมื่อ • ต้องการยอดขาย •T • C • Py • S (ไม่อำนวย) 2 2
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/การกำหนดดุลยภาพ หนังสือหน้า 28 เลขหน้า 2/42 2.12 การกำหนดดุลยภาพของตลาดโดย อุปสงค์และอุปทาน ตารางที่ 2.7 อุปสงค์ตลาดและอุปทานตลาดของสมุด ต่อไปนี้จะเป็นการพิจารณาว่าอุปสงค์ (demand) และอุปทาน (supply) ร่วมกันกำหนดภาวะดุลยภาพ (equilibrium)
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/การกำหนดดุลยภาพ หนังสือหน้า 29 เลขหน้า 2/43 ภาวะดุลยภาพนี้จะดำรงอยู่ได้นาน แต่ถ้าตัวกำหนด ต่าง ๆ ของอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลงไป ภาวะดุลยภาพก็จะเปลี่ยนแปลงไป
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/การเปลี่ยนแปลงภาวะดุล หนังสือหน้า 30 เลขหน้า 2/44 2.13 การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ โดยปกติ ภาวะดุลยภาพของตลาดจะดำรงอยู่ได้นาน ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิม ตราบเท่าที่อุปสงค์และอุปทานยังไม่เปลี่ยนแปลง แต่ถ้าปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทาน ตัวใดตัวหนึ่งหรือหลายตัว (ยกเว้นราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้น) เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีผลทำให้เส้นอุปสงค์หรือเส้นอุปทานเปลี่ยนแปลงไปแล้วย่อมทำให้ภาวะดุลภาพเปลี่ยนแปลงไปด้วย
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/การเปลี่ยนแปลงภาวะดุล หนังสือหน้า 30 เลขหน้า 2/45 2.13.1 อุปสงค์เปลี่ยนแปลง แต่อุปทานคงที่
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/การเปลี่ยนแปลงภาวะดุล หนังสือหน้า 30 เลขหน้า 2/46 2.13.2 อุปทานเปลี่ยนแปลง แต่อุปสงค์คงที่ S D S D
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/การเปลี่ยนแปลงภาวะดุล หนังสือหน้า 31 เลขหน้า 2/47 2.13.3 อุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกัน
เลขหน้า 2/48