310 likes | 496 Views
ระบบจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนระบบงาน HoMC และงานซ่อมบำรุง กรณีศึกษาศูนย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี Knowledge Management System for HoMC and Maintenance Case Study of Computer Center Suratthani Hospital. อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร . อนันท์ ชกสุริวงค์.
E N D
ระบบจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนระบบงาน HoMC และงานซ่อมบำรุง กรณีศึกษาศูนย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี Knowledge Management System for HoMC and Maintenance Case Study of Computer Center Suratthani Hospital อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร. อนันท์ ชกสุริวงค์ นำเสนอโดย : นายคมสัน ดุษฎี รหัสนักศึกษา: 5210121007 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ที่มาและความสำคัญ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี Hardware Software
ปัญหาระบบงานเดิน 1. องค์ความรู้ขององค์กรมีรูปแบบจัดเก็บที่ไม่เป็นระบบ 2. เจ้าหน้าที่ไม่สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ 3. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือ การให้บริการต่อเจ้าหน้าที่ภายในโรงพยาบาลทำ ได้ไม่สะดวก
วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเป็นการรวบรวมความรู้ภายในศูนย์คอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ภายในศูนย์คอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นการนำระบบสารสนเทศการจัดการความรู้มาใช้กับศูนย์คอมพิวเตอร์
วัตถุประสงค์ของการวิจัย (ต่อ) 4 เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ฝ่ายซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ 5
ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดรับจากการวิจัยประโยชน์ที่คาดว่าจะไดรับจากการวิจัย • 1. ได้ระบบจัดเก็บความรู้แบบรวมศูนย์ของศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี • ได้ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการแก้ปัญหาต่างๆ ในการปฏิบัติงานให้มี ความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น • 3. เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น 4. เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ในกรณีที่ผู้รับผิดชอบระบบงานนั้นๆ ไม่สามารถมาทำงานได้
ขอบเขตของงานวิจัย ข้อมูลที่ใช้ :ข้อมูลระบบงาน HoMC และระบบงานซ่อมบำรุง ทฤษฎีที่ใช้:SECI MODEL ผลลัพธ์ที่ได้:ระบบจัดเก็บความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี สมมุติฐาน:ระบบจัดเก็บความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี เพื่อให้ศูนย์คอมพิวเตอร์มีระบบจัดเก็บองค์ความรู้ที่เป็นระบบ และเจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้มากขึ้น
ทฤษฎีและหลักการ ทฤษฏีในการจัดทำ KM ใช้ ทฤษฎี SECI ของ Dr.Nonaka Lkujiro
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยเรื่อง : ระบบจัดการความรู้สำหรับการเช่าซื้อรถยนต์กรณีศึกษาธนาคารธนชาต สำนักงานหาดใหญ่ งานวิจัยชิ้นนี้ให้แนวคิดการแบ่งทีมจัดการความรู้ออกเป็นส่วนๆ ประกอบด้วย ผู้อำนวยการธนาคารธนชาตสาขาหาดใหญ่ ผู้จัดการธนาคาร ธนชาตสาขาหาดใหญ่ หัวหน้าเจ้าหน้าที่การตลาด เจ้าหน้าที่การตลาด สำหรับระบบงานจัดเก็บความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์แบ่งทีมจัดการความรู้ออกเป็นสองส่วนเจ้าหน้าที่ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) งานวิจัยเรื่อง: การพัฒนาระบบจัดการความรู้ สำหรับฝ่ายสนับสนุนระบบ SAP ใน เครือบริษัทเบอร์ลีย์-คล๊าคเซฟ สกินไทยแลนด์ ประเทศไทยจำกัด งานวิจัยชิ้นนี้มีความสัมพันธ์กับสารนิพนธ์ในด้านออกแบบรูปแบบการถ่ายทอดความรู้โดยผู้มีประสบการณ์ถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบของการถามตอบ Blog CoP Story telling สำหรับระบบจัดเก็บความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์แบ่งรูปแบบถ่ายทอดความรู้ BlogWebboard เอกสารดาวน์โหลด ดูคลิปวีดีโอ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) งานวิจัยเรื่อง : ระบบจัดการความรู้หน่วยงานสารสนเทศ ของกลุ่มบริษัท ศรีตรัง แอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) งานวิจัยชิ้นนี้มีความสัมพันธ์กับสารนิพนธ์ด้านแบ่งสิทธิการเข้าใช้งานระบบ คือผู้ดูแลระบบมีหน้าที่กำหนดสิทธิในระบบจัดการความรู้เจ้าหน้าที่ ทำหน้าบันทึกข้อมูลความรู้ใหม่เข้าสู่ระบบ ผู้ใช้งานทั่วไป หมายถึงกลุ่มบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจในเรื่องการจัดการสามารถดูและดาวน์โหลดเอกสารสำหรับระบบจัดเก็บความรู้แบ่งสิทธิการเข้าใช้งานระบบออกเป็น 3ส่วน คือเจ้าหน้าที่ทั่วไป เจ้าหน้าที่ที่เป็นสมาชิกและผู้ดูแลระบบ
กระบวนการในการดำเนินงานวิจัยกระบวนการในการดำเนินงานวิจัย 1. การกำหนดความรู้(Define) 2. การสร้างและการถ่ายโอน (Create) 3. การแสวงหาและการจัดเก็บ (Capture) 4. การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน(Share) 5. การนำความรู้ไปใช้งาน (Use)
ระบบงานใหม่ ระบบจัดเก็บความรู้
การพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้งการพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้ง • จากภาระงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์กำหนดรูปแบบถ่ายทอดความรู้ • Blog • เว็บเว็บบอร์ด • เอกสารให้ดาวน์โหลด
การพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้งรูปแบบ Blog 1. การกำหนดความรู้ 2. การสร้างและการถ่ายโอน 3. การแสวงหาและการจัดเก็บ 4 การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน 5. การนำความรู้ไปใช้งาน
การพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้งรูปแบบเว็บบอร์ด 1. การกำหนดความรู้ 2. การสร้างและการถ่ายโอน 3. การแสวงหาและการจัดเก็บ 4. การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน 5. การนำความรู้ไปใช้งาน
การพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้งรูปแบบดาวน์โหลดเอกสารการพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้งรูปแบบดาวน์โหลดเอกสาร 1. การกำหนดความรู้ 2. การสร้างและการถ่ายโอน 3. การแสวงหาและการจัดเก็บ 4 การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน 5. การนำความรู้ไปใช้งาน
การพัฒนาความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ซ่อนเร้นการพัฒนาความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ซ่อนเร้น • ความรู้แบบซ่อนเร้นคือความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลสามารถอธิบายเป็นลายลักษณ์อักษรให้เข้าใจยากต้องสาธิตให้ดูจึงได้จัดเก็บให้อยู่ในรูปแบบ • คลิปวีดีโอที่สามารถดูได้ผ่านเว็บ
การพัฒนาความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ซ่อนเร้นรูปแบบคลิปวีดีโอการพัฒนาความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ซ่อนเร้นรูปแบบคลิปวีดีโอ 1. การกำหนดความรู้ 2. การสร้างและการถ่ายโอน 3. การแสวงหาและการจัดเก็บ 4. การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน 5. การนำความรู้ไปใช้งาน
แนวทางการประเมินระบบ ผู้วิจัยได้ทำการประเมินระบบจัดการความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีประเมินเกณฑ์การออกแบบเว็บไซต์ ความถี่การเข้าใช้งานระบบเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2554 เจ้าหน้าที่ซอฟต์แวร์ จำนวน 5 คน เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่ฮาร์ดแวร์ จำนวน 5 คน
การทดสอบและประเมินผล 1. เกณฑ์การออกแบบเว็บไซต์ รูปแบบการจัดวางข้อมูลความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลความเหมาะสมของขนาดอักษรสามารถเข้าใจได้ง่าย ความถูกต้องของข้อมูลระบบมีความถูกต้องมากน้อยเพียงใดความถูกต้องในการค้นหาข้อมูลมีความถูกต้อง
การทดสอบและประเมินผล (ต่อ) สรุปผล : ที่ได้จากแบบสำรวจจากเจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด 10 คน ให้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละเท่ากับ 76.8 คะแนน สรุปอยู่ในช่วงที่ ดี
การทดสอบและประเมินผล (ต่อ) 2. ความถี่การเข้าใช้งานระบบ วิเคราะห์ความถี่การเข้าใช้งานระบบจัดการความรู้โดยแบ่งออกเป็นรูปแบบจัดเก็บองค์ความรู้
การทดสอบและประเมินผลเรื่องเล่าดีๆ Blog สรุปผล : จากการเข้าใช้เรื่องเล่าดีๆ Blog ค่าเฉลี่ยของ Blog ทั้งหมด 21 Blog เฉลี่ยอยู่ที่ 3Blog /สัปดาห์อยู่ในระดับปานกลาง
การทดสอบและประเมินผลเว็บบอร์ด (Board) สรุปผล : มีจำนวนหัวข้อและการแสดงความคิดเห็นข้อความทั้งหมด 25 Post/เดือน เฉลี่ยอยู่ในระดับที่ดี
การทดสอบและประเมินผลดาวน์โหลดเอกสารและดาวน์โหลดคลิป สรุปผล : มีจำนวนเอกสารให้ดาวน์โหลดทั้งหมด 32 หัวข้อให้ดาวน์โหลด และมีจำนวนครั้งในการดาวน์โหลดทั้งหมด 423 ครั้งซึ่งมีค่าเฉลี่ยต่อหัวข้อเท่ากับ 13.21 ครั้งอยู่ในเกณฑ์ที่ดี
การทดสอบและประเมินผล ดู คลิปวีดีโอ สรุปผล : จากการตรวจสอบจำนวนคลิปคลิปเพิ่มขึ้นอยู่ที่ 8 คลิป/เดือนอยู่ในระดับปานกลาง
บทสรุปและข้อเสนอแนะ การนำ Open Source มาใช้ในการพัฒนาระบบบางครั้งอาจไม่ตรงกับความต้องการมากนักดังนั้นถ้าหากคิดพัฒนาระบบที่มีความซับซ้อนมากกว่านี้ต้องพัฒนาขึ้นมาเองโดยไม่ต้องใช้ Open Source
ผลที่ได้จากการใช้ระบบผลที่ได้จากการใช้ระบบ การจัดทำระบบจัดการความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์ได้ระบบจัดเก็บองค์ความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบมากขึ้น เจ้าหน้าที่สามารถเข้ามาถ่ายทอดความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และสามารถปฏิบัติงานแทนกันได้มากขึ้น