1 / 39

บทที่ 14 การทำ SEO (Search Engine Optimization)

บทที่ 14 การทำ SEO (Search Engine Optimization). SEO ?. SEO คือ การปรับแต่งเว็บไซต์ และกระบวนการต่างๆ ของเว็บไซต์ตั้งแต่การออกแบบ เขียนโปรแกรม และการโปรโมทเว็บ เพื่อให้ติดอันดับต้นๆ ของ Search Engine (เครื่องมือค้นหาเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Google, MSN, Yahoo, AOL เป็นต้น)

deliz
Download Presentation

บทที่ 14 การทำ SEO (Search Engine Optimization)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 14 การทำ SEO(Search Engine Optimization)

  2. SEO ? • SEO คือ การปรับแต่งเว็บไซต์ และกระบวนการต่างๆ ของเว็บไซต์ตั้งแต่การออกแบบ เขียนโปรแกรม และการโปรโมทเว็บ เพื่อให้ติดอันดับต้นๆ ของ Search Engine (เครื่องมือค้นหาเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Google, MSN, Yahoo, AOL เป็นต้น) • จากข้อมูลของ AOL จำนวน 20 ล้านคิวร ี ข้อมูลการคลิกของผู้ใช้ • ผู้ใช้คลิกอันดับที่ 1 จำนวน 42% • ผู้ใช้คลิกอันดับที่ 2 จำนวน 12% • ผู้ใช้คลิกอันดับที่ 3 จำนวน 8.5% • ผู้ใช้คลิกอันดับที่ 4 จำนวน 6% • ผู้ใช้คลิกอันดับที่ 5 จำนวน 5% • ผู้ใช้คลิกอันดับที่ 6 จำนวน 4% • ผู้ใช้คลิกอันดับที่ 7-10 จำนวน 3% • 10% คลิกไปยังหน้าที่ 2

  3. การทำ SEO เกี่ยวข้องกับใครบ้าง • นักการตลาด (Marketing) • ผู้ดูแลเว็บไซต์ (Webmaster/Web Content) • โปรแกรมเมอร์ (Web Programmer) • นักออกแบบ (Web Designer)

  4. รู้จัก Search Engine

  5. ประเภทของ Search Engine • Directory Search Engine เช่น Yahoo Directory • Meta Search Engine • Crawler Based Search Engine เช่น Google, Yahoo • Human/Social Search Engine เช่น Chacha, Maholo

  6. การทำงานของ Search Engine ค้นหา (Crawling) จัดทำดัชนี (Indexing) แสดงผล (Searching)

  7. การทำงานของ Bots, Spider, Crawler ตัวอักษรและ tag HTML ลิงค์ (Link) ภาพ เอกสารอื่นๆ

  8. จำนวนผู้ใช้งาน Search Engine

  9. จำนวนผู้ใช้งาน Search Engine

  10. การวางแผนการทำ SEO

  11. Short Term SEO • แผนระยะสั้น จะอยู่ในช่วงระยะ 1-3 เดือน หรือไม่เกิน 6 เดือนซึ่งแผนระยะสั้นเหมาะสำหรับเว็บบางประเภท เช่น - เว็บไซต์สำหรับโปรโมทภาพยนตร์ อัลบั้ม - เว็บไซต์ประชาสัมพันธ์หรือโปรโมชั่นเฉพาะกิจ เช่น โปรโมชั่นแฟชั่นฤดูร้อน • โดยปกติการทำแผนระยะสั้นจะต้องทำก่อนเริ่มโปรเจคอย่างน้อย 1 เดือนขึ้นไป เพื่อให้เว็บสามารถไต่อันดับได้ทันในช่วงที่จะโปรโมทเว็บไซต์

  12. Long Term SEO • แผนระยะยาว มักจะมุ่งหวังในการจัดทำเว็บเพื่อทำธุรกิจออนไลน์อย่างจริงจัง ไม่ได้เน้นโปรโมทเพียงช่วงใดช่วงหนึ่งเท่านั้น ซึ่งเหมาะสำหรับเว็บไซต์บางประเภท เช่น - เว็บไซต์ขายสินค้าออนไลน์ - เว็บไซต์ให้บริการอื่นๆ เช่น บริการจองโรงแรม - เว็บ Portal site ทั่วไป • โดยปกติการทำแผนระยะยาวจำเป็นที่จะต้องมีการติดตามผลและการรักษาอันดับตลอดเวลาตราบเท่าที่เว็บไซต์ยังคงเปิดใช้งานอยู่

  13. การค้นหา Keyword สำหรับทำ SEO

  14. การค้นหา Keyword • ในการค้นหา Keyword จำเป็นต้องตอบโจทย์เหล่านี้ให้ได้ - ผู้ที่ค้นหานั้นเป็นใคร - อะไรที่พวกเขาเหล่านั้นต้องการ - ช่วงเวลาไหนที่เขาต้องการ

  15. เครื่องมือสำหรับค้นหา Keyword • Google Keywords Tools External (adwords.google.com/select/KeywordToolExternal) เป็นเครื่องมือในการหา Keyword ของ google โดยตรง • MSN Adlab - Keyword Group Detection (adlab.msn.com/Keyword-Group-Detection) - Demographics Prediction (adlab.msn.com/Demographics-Prediction/DPUI.aspx) - Keyword Forecast (adlab.msn.com/Keyword-Forecast)

  16. เครื่องมือสำหรับค้นหา Keyword • Truehits.net (truehits.net) ใช้สำหรับดูสถิติเว็บไทย และมีการเก็บ Keyword Trend จากเว็บที่เป็นสมาชิกของทรูฮิตไว้ทั้งหมด เหมาะสำหรับธุรกิจในประเทศ

  17. การจัดแบ่งกลุ่ม Keyword • Major Keywords เป็นคีย์เวิร์ดหลัก ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเว็บไซต์นั้นๆ โดยควรจะเป็นคำที่ไม่เกิน 2-3 คำ ต่อกัน เช่น “รถยนต์”“รถมือสอง” แต่ในบางกรณี คีย์เวิร์ดหลักก็ไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นคำเดี่ยวๆเสมอไป หากเนื้อหาในเว็บเป็นเนื้อหาที่จำเพาะเจาะจง เช่น “รีสอร์ท ภูเก็ต” การมีคีย์เวิร์ดหลักมากๆนั้น ไม่เป็นผลดีกับการทำ SEO เพราะถึงจะมีเว็บไซต์ที่ติดอันดับในหลายๆคีย์เวิร์ด แต่อันดับที่ได้สวนใหญ่แล้วจะไม่ค่อยดีเท่าไร

  18. การจัดแบ่งกลุ่ม Keyword • Minor Keywords เป็นคีย์เวิร์ดรอง ที่ค้นหาด้วยเครื่องมือต่างๆแล้ว แต่มีปริมาณการค้นหาไม่เยอะมากเท่าคีย์เวิร์ดหลัก แนะนำให้ใช้คีย์เวิร์ดรอง 10-20 คำ

  19. การจัดแบ่งกลุ่ม Keyword • Seasonal Keywords เป็นคีย์เวิร์ดตามฤดูกาล มักพบได้กับกลุ่มของเว็บไซต์ขายสินค้าหรือบริการที่เกี่ยวข้องกับฤดูกาล หรือสินค้าไอที ซึ่งพบเห็นได้เป็นระยะๆ การใช้งานคีย์เวิร์ดในกลุ่มนี้ จึงควรเลือกช่วงเวลาในการนำมาใช้ให้ถูกต้องและเหมาะสม

  20. ลงมือปรับแต่งเว็บไซต์(On-Page Optimize)

  21. โครงสร้าง Html <html> <head> <title>ไตเติ้ลของเว็บเพจ</title> <meta name=“keywords” content=“คีย์เวิร์ด”> <meta name=“description” content=“รายละเอียดอย่างย่อ”> </head> <body … </body> </html>

  22. Title tag • ถึงแม้ว่า Title tag จะถูกลดความสำคัญลงในการจัดอันดับของ search engine แต่ title tag ก็ยังถือว่ามีความสำคัญอยู่ เนื่องจากเป็นจุดแรกที่บ่งบอกให้ผู้ใช้งานเห็นว่า กำลังเปิดหน้าอะไรอยู่ โดยที่ไม่ต้องเห็นหน้าเว็บเลย • ในส่วนของ search engine จะกำหนดหรือคาดหวังว่าเนื้อหาของคุณจะเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร เช่น ถ้าใส่ไตเติ้ลว่า “ท่องเที่ยว” search engine จะคาดเดาทันทีว่าเนื้อหาที่กำลังจะเจอต่อไป คือ เรื่องของการท่องเที่ยว • ให้ใช้คีย์เวิร์ดหลัก และรองมาผสมกัน ให้สั้นและกระชับได้ใจความ

  23. Title tag • ข้อผิดพลาดในการใช้งาน title tag - ไม่ใส่ข้อความที่ search engine ถือว่าเป็นขยะ เช่น “หน้าหลัก”“หน้าแรก”“โฮมเพจ”“ยินดีต้อนรับ” - ไม่นำชื่อโดเมนของเว็บมาใส่ - ไม่ควรใช้ title ซ้ำกันหมดทั้งเว็บไซต์

  24. Meta tag • Meta Keywords เป็นตัวบอกเนื้อหา เป็นการใส่ข้อมูลที่เป็นคีย์เวิร์ดเกี่ยวกับเนื้อหาของเว็บไซต์ เทียบได้กับ ข้อความพาดหัวข่าว • ถึงแม้ว่าปัจจุบัน search engine ต่างๆจะลดความสำคัญของ Meta Keyword ลงไป แต่ยังถือว่าเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยยืนยันความถูกต้องของเนื้อหา และเป็นส่วนช่วยเสริมให้กับ title tag มีความน่าเชื่อถือมากขึ้นด้วย <meta name=“keywords” content=“คีย์เวิร์ด 1”, “คีย์เวิร์ด 2”, …>

  25. Meta tag • Meta Description เป็นตัวบอกรายละเอียดสั้นของเว็บไซต์ เทียบได้กับ เนื้อหาใต้ข้อความพาดหัวข่าว • เนื้อหาในแท็กนี้ถูกดึงไปใช้งานในหน้าผลการค้นหาของ Search engine <meta name=“description” content=“ใส่เนื้อหาอย่างย่อ”>

  26. Body tag หัวเรื่อง หัวเรื่องรอง เนื้อหา ตัวหนังสือ ตัวหนา ตัวเอียง รูปภาพ ตาราง

  27. Body tag • Tag มาตรฐานที่ควรใช้ - Tag H1 – H6 ควรใช้สำหรับการกำหนดหัวเรื่อง หัวเรื่องรอง - Tag p ใช้สำหรับการขึ้นย่อหน้าใหม่ - Tag b, strong ใช้สำหรับเน้นข้อความ ตัวหนา - Tag ul, li ใช้สำหรับสร้าง unorder list

  28. SEO Copywriting • นำคีย์เวิร์ดที่ได้มากระจายลงไปในส่วนต่างๆของเนื้อหา • ให้นึกถึงคีย์เวิร์ดที่ต้องการเพียงหนึ่งหรือสองคำเท่านั้น • พยายามเขียนเนื้อหาให้กระชับได้ใจความ • นำแท็กมาตรฐานมาใช้ • เนื้อหาที่เขียน ให้นึกเสมอว่าผู้อ่านคือ คน/ลูกค้า • ย้อนกลับไปอ่านสิ่งที่เขียน และปรับแต่งให้ดีขึ้น

  29. Stop words and Stop Phrases • เป็นการคัดกรองเอาคำที่ไม่ต้องการ ไม่สำคัญ หรือไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาออกไป • ยกตัวอย่าง คำต่อไปนี้ “This is a pen” - Stop words คือ “is a” - Stop phrased คือ “This is”

  30. ปรับแต่งระบบลิงค์ภายในเว็บปรับแต่งระบบลิงค์ภายในเว็บ

  31. ลักษณะของลิงค์ <a href=http://www.eblogbiz.com title=“SEO Blog”>My Blog</a> • เป็นรูปแบบคำสั่ง html ในการสร้างลิงค์ที่บรรดาแมงมุมชื่นชอบมาก เพราะ จากตัวอย่างจะรู้ได้ว่ากำลังจะคลิกอะไร เรื่องอะไร ไปที่ไหน

  32. รูปแบบลิงค์ที่ผิดพลาดรูปแบบลิงค์ที่ผิดพลาด • รูปแบบลิงค์ที่เป็น JavaScript <a href=“#” onclick=“window.location=‘http://www.eblogbiz.com’>My blog</a> • ลิงค์ที่เป็น dropdown menu • ลิงค์เมนูที่ทำเป็น Flash Animation • ลิงค์ที่ใช้ภาพเป็นลิงค์ ความร้ายแรงไม่เท่ากับ 3 แบบแรก <a href=“http://www.eblogbiz.com”><img src=“menu1.jpg”></a> • การใช้คำในลิงค์ผิดพลาด <a href=“http://www.eblogbiz.com”>อ่านต่อ</a>

  33. ปรับแต่งลิงค์เข้า-ออกเว็บไซต์(Off-Page Optimize)

  34. รู้จัก Inbound/Outbound Link • ทางเข้าเยอะ ทางออกเยอะ • ทางเข้าน้อยกว่าทางออก • ทางเข้ามากกว่าทางออก เราสามารถสร้างลิงค์จากเว็บไซต์อื่นให้เข้ามาในเว็บไซต์ของเราได้ แต่ต้อง คำนึงถึงในเรื่องของคุณภาพของลิงค์ด้วย (คุณภาพของลิงค์ หมายถึง เป็นลิงค์ จากเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือ มีบอทเข้าไปเยี่ยมเยียนบ่อยๆ ในทางตรงกันข้ามเว็บไซต์ ที่ไม่มีคุณภาพก็หมายถึง เว็บไซต์ที่จงใจใช้โปรแกรมสร้างขึ้น หรือการส่งอีเมล์ ขยะไปหลอกของแลกลิงค์กับเจ้าของเว็บต่างๆ เป็นต้น)

  35. ข้อควรระวังในการสร้างลิงค์เข้ามายังเว็บไซต์ข้อควรระวังในการสร้างลิงค์เข้ามายังเว็บไซต์ • ลิงค์จากเว็บไซต์ที่โดนลงโทษจาก search engine • ลิงค์จากเว็บไซต์ในกลุ่มเว็บที่มีเนื้อหาสำหรับผู้ใหญ่ • ลิงค์จากเว็บไซต์กลุ่มละเมิดลิขสิทธิ์ หรือเนื้อหาที่ผิดกฎหมาย • ลิงค์จากเว็บไซต์ขายยาทั่วไป • ลิงค์จากเว็บ FFA (Free for All Links Pages) • การเพิ่มปริมาณลิงค์เข้ามายังเว็บไซต์ในเวลาอันรวดเร็ว

  36. เทคนิคการหาลิงค์ • Web Directory Submitting คือ การซับมิทไปยังเว็บไดเรคทอรี โดยเข้าไปยังเว็บไดเร็คทอรีที่รู้จักและเสนอลิงค์ของคุณเข้าไป ซึ่งเว็บที่แนะนำให้ไปซับมิทลิงค์ไว้ คือ เว็บ DMOZ และ yahoo! Directory • การส่งข่าวประชาสัมพันธ์ (Press News Submitting) • การส่งบทความเข้าไปยังเว็บไซต์ต่างๆ (Article Submitting) • การแลกลิงค์ (Links Exchange) • การซื้อลิงค์ (Paid for Links) แต่ให้ระวังเว็บที่มีข้อความโฆษณาว่า Link for sell เพราะ google กำลังจับตามองเว็บเหล่านี้อยู่

  37. เทคนิคการหาลิงค์ • การซื้อบทความ (Content Buying) พบได้มากในกลุ่ม web blog โดยเป็นการซื้อเนื้อหา หมายถึง เราเขียนบทความเอง แต่ไปขอลงใน web blog คนอื่น • การทำระบบแนะนำลิงค์ (Link to us System) บทความนี้สงวนลิขสิทธิ์โดย www.aaa.comหากต้องการนำเนื้อหานี้ไปใช้ มิใช่เพื่อการค้า สามารถนำบทความนี้ไปใช้งานได้ และให้ทำลิงค์มาที่หน้า ต้นฉบับของบทความนี้ด้วย

  38. เทคนิคการตุกติกในการทำแลกลิงค์เทคนิคการตุกติกในการทำแลกลิงค์ • การแอบใช้ javascript ลิงค์ <a href=“#” OnMouseOver=“windows.status=‘http:www.aaa.com’;” Onclick=“Opensite(‘http://www.aaa.com’);”>Link</a> • การลิงค์ไปยังหน้าดักก่อน <a href=“out.php?www.aaa.com”>Link</a> • การเสนอให้ลิงค์คุณเป็น Flash Animation Banner • การนำลิงค์ไปไว้ลึกๆ • การแอบถอดลิงค์

More Related