1 / 38

MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ ( Relations)

MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ ( Relations). ดร . ธนา สุขวารี ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept. วัตถุประสงค์. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ และสมบัติความสัมพันธ์ ประยุกต์ความสัมพันธ์กับข้อมูล และปฏบัติการกับข้อมูลในกระบวนการทางคอมพิวเตอร์.

demetrius
Download Presentation

MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ ( Relations)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง(4)ความสัมพันธ์ (Relations) ดร.ธนา สุขวารี ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์SPU, Computer Science Dept.

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ และสมบัติความสัมพันธ์ • ประยุกต์ความสัมพันธ์กับข้อมูล และปฏบัติการกับข้อมูลในกระบวนการทางคอมพิวเตอร์

  3. ความสัมพันธ์ (relation) • นิยาม : ให้ A และB เป็นเซต จะเรียก R ว่าเป็น ความสัมพันธ์ทวิภาค(Binary Relation )จากA ไป Bถ้าR เป็นเซตย่อยของ • R เป็นเซตของคู่อันดับ(ordered pair) โดยที่คู่อันดับตัวแรกมาจาก Aและคู่อันดับตัวที่สองมาจาก B • a สัมพันธ์กับ b โดย R เมื่อ • Example : ลงทะเบียนเรียน (รหัสนักศึกษา, รหัสวิชา) A R B

  4. A B ab 012 ความสัมพันธ์บนเซต • EX: ให้ A = {0,1,2,} และ B = { a,b} แล้วจะได้ว่า R1 = { (0,a) , (0,b) , (1,a) , (2,b) } เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B R = { (0,a), (0,b), (1,a), (1,b), (2,a), (2,b) } R1⊂ R (อ่านว่าR1 เป็น สับเซตของ R)

  5. table 1 1 X X X 1 2 3 4 X 2 2 X X 3 3 X 4 4 X B A ความสัมพันธ์บนเซต • EX: ให้ Aและ B เป็นเซต {1, 2, 3, 4} จงเขียนคู่ลำดับของความสัมพันธ์ R = {(a,b)| a หาร b ลงตัว} 1 2 3 4

  6. หรือ EX: เมื่อ a, b ϵจำนวนเต็ม R1R2 R3 R4 R5 (1,1)(1,2)(2,1)(1,-1)(2,2)

  7. ปฏิบัติการบนความสัมพันธ์ปฏิบัติการบนความสัมพันธ์ EX. กำหนดให้ A = {1, 2, 3} , B = {1, 2, 3, 4} และ R1 = {(1, 1), (2, 2), (3, 3)}, R2 = {(1, 1),(1, 2),(1, 3),(1, 4)} จงหา R1 U R2 = {(1, 1),(1, 2),(1, 3),(1, 4), (2, 2), (3, 3) } R1 ∩ R2 = {(1, 1)} R1 - R2 = {(2, 2), (3, 3)} R2 -R1= {(1, 2),(1, 3),(1, 4)}

  8. ความรู้ทางตรรก ตารางค่าความเป็นจริง IF…THEN AND NOT xor OR

  9. สมบัติของความสัมพันธ์สมบัติของความสัมพันธ์ • นิยามให้ R เป็นความสัมพันธ์บนเซต A และ a, b, c เป็นสมาชิกใด ๆ ของ A จะเรียก R ว่า มี 1. สมบัติสะท้อน( Reflexive )ถ้า ทุก a ϵ A 2. สมบัติสมมาตร( Symmetric)ถ้า แล้ว3. สมบัติถ่ายทอด( Transitive) ถ้า และ แล้ว 4. สมบัติปฏิสมมาตร(Antisymmetric) ถ้า และ แล้ว a = b ความสัมพันธ์สมมูล

  10. สมบัติของความสัมพันธ์สมบัติของความสัมพันธ์ EX: พิจารณาความสัมพันธ์ บนเซต A={1,2,3} ต่อไปนี้ R={(1,1), (1,2), (1,3), (3,3)} S={(1,1), (1,2), (2,1), (2,2), (3,3)} T={(1,1), (1,2), (2,2), (2,3)}

  11. Reflexive R={(1,1), (1,2), (1,3), (3,3)} S={(1,1), (1,2), (2,1), (2,2), (3,3)} T={(1,1), (1,2), (2,2), (2,3)} เมื่อ R,Sและ Tเป็นเซทของคู่ลำดับที่มีสมาชิกอยู่ในเซทของAและB ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก {1,2,3} คุณสมบัติสะท้อน R ไม่มี refexive เพราะ 2 ϵ A แต่ (2,2) ϵ R T ไม่มี refexive เพราะ 3 ϵA แต่ (3,3) ϵT S มี refexive

  12. Symmetric R={(1,1), (1,2), (1,3), (3,3)} S={(1,1), (1,2), (2,1), (2,2), (3,3)} T={(1,1), (1,2), (2,2), (2,3)} เมื่อ R,Sและ Tเป็นเซทของคู่ลำดับที่มีสมาชิกอยู่ในเซทของA และB ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก {1,2,3} สมบัติสมมาตร R ไม่มี symmetric เพราะ (1,2) ϵ R แต่ (2,1) ϵ R ในทำนองเดียวกัน T ไม่มี symmetric S มี symmetric

  13. Transitive R={(1,1), (1,2), (1,3), (3,3)} S={(1,1), (1,2), (2,1), (2,2), (3,3)} T={(1,1), (1,2), (2,2), (2,3)} เมื่อ R,Sและ Tเป็นเซทของคู่ลำดับที่มีสมาชิกอยู่ในเซทของA={1,2,3} สมบัติถ่ายทอด -T ไม่มี transitive เพราะ (1,2)และ(2,3)อยู่ใน T แต่ (1,3) ไม่อยู่ใน T - R และ S มี transitive

  14. Antisymmetric R={(1,1), (1,2), (1,3), (3,3)} S={(1,1), (1,2), (2,1), (2,2), (3,3)} T={(1,1), (1,2), (2,2), (2,3)} เมื่อ R,Sและ Tเป็นเซทของคู่ลำดับที่มีสมาชิกอยู่ในเซทของA={1,2,3} สมบัติปฏิสมมาตร • S ไม่เป็น Antisym เพราะ (1,2) และ (2,1) อยู่ใน S แต่ 1 ไม่เท่ากับ 2 • R และ T เป็น Antisym

  15. โจทย์คำถาม EX:จงพิจารณาความสัมพันธ์ R1,R2, ..,R6บน A={1, 2, 3, 4} เมื่อ R1 = { (1,1),(1,2),(2,1),(2,2),(3,4),(4,1),(4,4)} R2 = { (1,1),(1,2),(2,1)} R3 = { (1,1),(1,2),(1,4),(2,1),(2,2),(3,3),(4,1),(4,4)} R4 = { (2,1),(3,1),(3,2),(4,1),(4,2),(4,3)} R5 = { (1,1),(1,2),(1,3),(1,4),(2,2),(2,3),(2,4),(3,3),(3,4),(4,4)} R6 = { (3,4)} ความสัมพันธ์ใดมี สมบัติสะท้อน สมบัติสมมาตร สมบัติปฏิสมมาตร และสมบัติถ่ายทอด

  16. หรือ โจทย์คำถาม EX: ให้ Ri เป็นความสัมพันธ์บนเซตของจำนวนเต็ม จงพิจารณาว่าความสัมพันธ์ใดมี สมบัติสะท้อน สมบัติสมมาตร สมบัติถ่ายทอด หรือสมบัติปฏิสมมาตร

  17. Answer: R5 • ให้ เป็นความสัมพันธ์บนเซตของจำนวนเต็ม • สมบัติสะท้อน : เนื่องจาก ดังนั้น นั่นคือ R5ไม่มีสมบัติสะท้อน • สมบัติสมมาตร: เนื่องจาก แต่ ดังนั้น แต่ นั่นคือ ไม่มีสมบัติสมมาตร

  18. Answer: R5 สมบัติถ่ายทอด: เนื่องจาก และ แต่ ดังนั้น และ แต่ นั่นคือ R5ไม่มีสมบัติถ่ายทอด

  19. Answer: R5

  20. หรือ Answer: R3 ให้

  21. หรือ Answer: R3

  22. หรือ Answer: R3

  23. หรือ Answer: R3

  24. การแทนความสัมพันธ์(Representing Relations) • คู่ลำดับ (ordered pair) • ตาราง (table) • เมตริกซ์ (matrix) • กราฟ (graph)

  25. การแทนความสัมพันธ์คู่ลำดับการแทนความสัมพันธ์คู่ลำดับ Ex: ให้ R เป็นความสัมพันธ์จากเซต A ไปยังเซต B เมื่อ A = {นงนุช, ภัทร, ธนพรรธน์} B = {CSE101, MAT231, CSE321} R = { (นงนุช, CSE101),(นงนุช, MAT231), (ภัทร, CSE101),(ภัทร, MAT231),(ภัทร, CSE321), (ธนพรรธน์, MAT231) }

  26. การแทนความสัมพันธ์ตารางการแทนความสัมพันธ์ตาราง R = { (นงนุช, CSE101),(นงนุช, MAT231), (ภัทร, CSE101),(ภัทร, MAT231),(ภัทร, CSE321), (ธนพรรธน์, MAT231) } ลงทะเบียนเรียน CSE321 MAT231 CSE101 นงนุช ภัทร ธนพรรธน์ X X X X X X

  27. การแทนความสัมพันธ์เมทริกซ์การแทนความสัมพันธ์เมทริกซ์ การแทนค่าของความสัมพันธ์ในรูปแบบ Matrix (0-1) กำหนดให้ R เป็นความสัมพันธ์จากเซต A = {a1, a2, … , an} ไป เซต B = {b1, b2, … , bn} สามารถแทนด้วย matrix MR = [ mij ] โดยที่

  28. การแทนความสัมพันธ์เมทริกซ์การแทนความสัมพันธ์เมทริกซ์ EX: ให้ A = { 1, 2, 3 } และ B = { 1, 2, 3, 4} ให้ r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ซึ่ง 1 2 3 4 1 2 3 0 1 1 1 0 0 1 1 0 0 0 1

  29. 0 1 0 0 01 0 1 1 01 0 1 0 1 Mr = โจทย์คำถาม EX ให้ A = { a1 , a2 , a3 } และ B = { b1 , b2 , b3 , b4 , b5 } จงหาความสัมพันธ์ r ในแบบคู่ลำดับ เมื่อ b1 b2 b3 b4 b5 a1a2a3

  30. การกระทำบนความสัมพันธ์เมทริกซ์ 0-1 EX: ให้ความสัมพันธ์ R1 และ R2 อยู่บน A จงแสดงผลลัพธ์ MR1 U MR2 และ MR1 ∩ MR2 1 0 10 1 11 0 0 1 0 11 0 00 1 0 MR2 = MR1 = 1 0 11 1 11 1 0 1 0 10 0 00 0 0 MR1∩ MR2 = MR1 U MR2 =

  31. การแทนความสัมพันธ์กราฟระบุทิศทางการแทนความสัมพันธ์กราฟระบุทิศทาง บทนิยาม กราฟระบุทิศทาง (Directed graph or digraph) ประกอบด้วย เซต V เรียกว่า เซตของจุด (vertices or node) และ เซต E   V x V เรียกว่า เซตของเส้นเชื่อม (edges) จุด a เรียกว่า จุดเริ่มต้น (initial vertex) ของด้าน (a, b) และจุด b เรียกว่า จุดปลาย (terminal vertex) ของด้าน (a, b) ด้านที่อยู่ในรูปแบบ (c, c) ซึ่งจุดเริ่มต้นกับจุดปลายเป็นจุดเดียวกัน จะเรียกว่า วงวน (loop)

  32. 1 2 3 การแทนความสัมพันธ์กราฟระบุทิศทาง EX: กำหนดให้ R = {(1, 1), (3, 2), (3, 1), (1, 2),(2, 3)} เป็นความสัมพันธ์บนเซต AxA เมื่อ A = {1, 2, 3} จงแทน R ด้วย Digraph

  33. โจทย์คำถาม • จงเขียนกราฟระบุทิศทางที่มีจุดยอดอยู่ที่ a, b, c และ d ซึ่งประกอบด้วยด้าน(a, b), (a, d), (b, b), (b, d), (c, a), (c, b) และ (d, b) • จงเขียนคู่อันดับและเมทริกซ์ทั้งหมดที่แทนกราฟระบุทิศทางที่กำหนด B C A D E

  34. ความสัมพันธ์ประกอบ(composite relation) บทนิยามให้ R เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B และ S เป็นความสัมพันธ์จาก B ไป C ความสัมพันธ์ประกอบของ R และ S (composite relation of R and S) คือ ความสัมพันธ์ซึ่งประกอบด้วยคู่อันดับ (a, c) โดยที่ (a, b) ∈R และ (b, c) ∈ S เขียนแทนด้วย S o R นั่นคือ S o R = { (a, c)∈ A × C มี b ∈ B ซึ่ง (a, b) ∈R และ (b, c) ∈ S }

  35. 012 1234 123 ตัวอย่าง EX.ให้ A = { 1,2,3} , B = {1,2,3,4}, C = { 0, 1, 2} R เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B และ S เป็นความสัมพันธ์จาก B ไป C กำหนดโดย R = { (1,1) , (1,4), (2,3), (3,1) , (3,4) }, S = { (1,0), (2,0) ,(3,1) ,(3,2), (4,1) } จงหา S o R SoR = {(1,0), (1,1), (2,1), (2,2), (3,0), (3,1) }

  36. โจทย์คำถาม เมื่อกำหนดให้ R = { (1, 1), (1, 4), (2, 3), (3, 1), (3, 4) } และS = { (1, 0), (2, 0), (3, 1), (3, 2), (4, 1) }จงหา SoR

  37. โจทย์ท้ายบท ให้ Aเป็นเซตประกอบด้วย { 0, 1, 2, 3, 4} โดย R,S เป็นความสัมพันธ์บน A R = { (1,1) , (2,2), (2,3), (3,2), (4,2), (4,4) }S = { (1,0), (2,0) ,(3,1) ,(3,2), (4,1) } • จงตรวจสอบว่าความสัมพันธ์ R และ S มีสมบัติ สะท้อน สมมาตร ถ่ายทอด และปฏิสมมาตร หรือไม่ • จงแทนความสัมพันธ์ R ในรูปแบบ เมตริกซ์ (0-1) Mr และ digraph • จงหา S o R

  38. Quiz -IV ให้เลือกโจทย์ปัญหาท้ายบทเรื่องความสัมพันธ์มาทดสอบอย่างน้อย 1 ข้อ (15 นาที)

More Related