310 likes | 510 Views
Cooperative Learning in Higher Education. การ เรียนแบบ ร่วมมือในระดับอุดมศึกษา. Cooperative Learning in Higher Education. Susan Ledlow อาจารย ประจํา Center for Learning and Teaching Excellence, Arizona State University http://clte.asu.edu/active/clinhighed.pdf. Climate-Setting.
E N D
Cooperative Learning in Higher Education การเรียนแบบร่วมมือในระดับอุดมศึกษา
Cooperative Learning in Higher Education • Susan Ledlow อาจารยประจํา Center for Learning and Teaching Excellence, Arizona State University • http://clte.asu.edu/active/clinhighed.pdf
Climate-Setting Classroom Management Team Formation Lesson Design Teambuilding Cooperative skills development
Climate-Setting • บอกนักศึกษาว่าเราวางแผนจะใช้วิธี Cooperative Learning • บอกเหตุผล • บอกประโยชน์ • มีผลกับคะแนนหรือเกรดหรือไม่ • ไม่ขู่ขวัญ • สาธิตการเรียน • สร้างบรรยากาศในห้องเรียน • ทำให้นักศึกษารู้จักกัน
Team Formation • อาจารย์เป็นผู้จัดกลุ่มเอง • มีความหลากหลายโดยยึดเรื่องความสำเร็จ เชื้อชาติ เพศ หรือ ประสบการณ์ เช่น • กลุ่มมีขนาดเล็ก 2 – 5 คน • ไม่เปลี่ยนสมาชิกกลุ่มบ่อยๆ
Team Formation • ธุรกิจ • นักศึกษาที่มีประสบการณ์จริงในธุรกิจ • นักศึกษาที่ไม่มีประสบการณ์ • จิตวิทยา • นักศึกษาที่มีบุตร • นักศึกษาที่มีประสบการณ์ทำงานกับเด็ก • กับนักศึกษาที่ไม่มีประสบการณ์
Team Formation • งานเขียนเป็นสำคัญ • นักศึกษาที่ทักษะในการเขียนดี • นักศึกษาที่ทักษะในการเขียนน้อย • คอมพิวเตอร์ • นักศึกษาคนใดคนหนึ่งในกลุ่มต้องใช้คอมพิวเตอร์ หรือ Software เป็น
Teambuilding • เป็นกระบวนการทำงานที่จำเป็นในการสร้าง การรักษา และทำให้มีการพัฒนากลุ่มให้เป็นกลุ่มที่มีความสามัคคี • การสร้างทีมเป็นงานสำคัญในการพัฒนากลุ่มที่ต้องทำงานด้วยกันในระยะเวลานาน
Teambuilding • ขั้นตอนแรกของการสร้างทีม คือ การรู้จักคุ้นเคยกันและการเข้าสมาคมแบบสามัคคี • แบบฝึกหัดในการสร้างทีมต้องมีองค์ประกอบที่สนุกสนาน • การเล่นที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาความสามัคคี • การออกแบบโลโก้กลุ่ม • การแลกเปลี่ยนข้อมูลกันเกี่ยวกับงานชิ้นแรก • การมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อค้นพบลักษณะประจำตัวร่วมกันของสมาชิกในทีม
Teambuilding • บทบาทและเกณฑ์ • ให้เพื่อนร่วมทีมช่วยกันพัฒนาเกณฑ์ขึ้นมา • กำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน
Teambuilding • การติดต่อสื่อสานกันระหว่างสมาชิกภายในกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ • ทำให้การทำงานกลุ่มดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย • มีการสร้างเกณฑ์ขึ้นมาเพื่อควบคุมการติดต่อสื่อสาร • เกณฑ์จะสนับสนุนให้ทุกคนมีส่วนร่วม
Teambuilding • ทีมต้องสามารถสะท้อนความคิดว่าพวกเขาร่วมมือกันทำงานได้ดีแค่ไหน • สมาชิกของกลุ่มต้องให้หรือรับการตอบกลับที่สร้างสรรค์ • สมาชิกของกลุ่มต้องให้เวลาในการช่วยเหลือ • สมาชิกของกลุ่มทราบเจตนาและการพึ่งพาซึ่งกันและกัน
Cooperative skills development • เป็นแนวคิดในการทำให้การร่วมมือกันทำงานมีความ แตกต่างอย่างเด่นชัดจากการทำงานกลุ่มแบบเก่า • ช่วยนักศึกษาในการพัฒนาทักษะ • วิธีการทำงานที่อาจารย์ส่วนมากใช้ เช่น
Cooperative skills development • วิธีการหนึ่งที่ David, Roger และ Karl smith ใช้ คือ T-Chart • ให้นักศึกษาระดมความคิดในการฝึกทักษะการเข้าสมาคม • เช่น ถามนักศึกษาว่า “การฟังที่ดีคืออะไร เป็นอย่างไร” • ให้นักศึกษาบันทึกคำตอบเก็บไว้ • ใช้เตือนความจำเวลาใช้ทักษะนี้ในการทำงานเป็นทีม
Cooperative skills development • กำหนดบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม • กำหนดการทำงานของแต่ละคนในกลุ่ม • ต้องให้ทุกคนทำงานและทำการจดบันทึก • ให้ผู้ที่มีบทบาทเป็นหัวหน้ากลุ่มดำเนินการให้ การทำงานกลุ่มดำเนินไปด้วยความราบรื่น • อาจารย์คอยให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้นักศึกษาแต่ ละคนแสดงบทบาทของตนอย่างเต็มที่ • อาจารย์ตรวจสอบคุณภาพของาน
Cooperative skills development • ถ้านักศึกษาส่วนใหญ่รับฟังความคิดเห็นของคนเพียง คนเดียวหรือสองคน • นักศึกษาแตละคนตองสรางคําตอบของตนเอง • นักศึกษาแตละคนบอกคําตอบของตนเองแก่สมาชิกกลุ่ม • นักศึกษาทุกคนได้รับฟังคำตอบทั้งหมด • นักศึกษาช่วยกันสรางสรรคคําตอบใหมขึ้นมาโดยรวบรวมจาก คำตอบทั้งหมด • วิธีการนี้สนับสนุนการฟงอยางตั้งใจ
Cooperative skills development • การติดตามผลงานพื้นฐานของทีมและการส่งเสริมการใช้ ทักษะที่ดี • ชี้ให้เห็นว่ากลุ่มที่ประสบความสำเร็จเป็นกลุ่มที่ใช้ทักษะ ร่วมมือกันทำงานตามที่กำหนด • จะช่วยสนับสนุนทั้งห้องเรียนให้มีทักษะเช่นเดียวกับกลุ่มที่ ประสบความสำเร็จ • เราอาจสังเกตและจดบันทึกการทำงานของกลุ่มแล้วแจ้งให้ สมาชิกในกลุ่มนั้นทราบเพื่อสร้างความมั่นใจ
Lesson Design การออกแบบบทเรียนและแบบฝึกหัด CLที่ดีจะทำให้ • เกิดการชี้แจงที่ชัดเจน • นักศึกษาทราบว่าจะร่วมมือกันทำงานได้ อย่างไร
Lesson Design หลักการพิจารณาในการพัฒนาบทเรียน • ใช้วิธีการปรับโครงสร้างหรือกระบวนการทำงานที่ มีอยู่แล้ว • จิ๊กซอ (Jigsaw) • การถกเถียงทางวิชาการ (Academic Controversy) • การจับคู่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Think-Pair-Share) • สร้าง-แลกเปลี่ยน-ฟัง-สร้างสรรค์ (Formulate-Share- Listen-Create)
Lesson Design • ในการเลือกโครงสร้างให้พิจารณาว่า • ต้องการคำตอบเดียวหรือหลายคำตอบ • ผลงานอะไรที่คาดหวังว่าจะได้จากการทำงาน • ทีมจะใช้ทักษะและประสบการณ์ในการร่วมมือ กันทำงานอย่างไร
Lesson Design • ถ้าไม่สามารถหาโครงสร้างที่มีอยู่แล้วมาใช้ • เราอาจสร้างขึ้นมาเอง • โดยยึดวัตถุประสงค์ทางวิชาการ • โดยยึดทักษะการร่วมมือทำงานตามที่กำหนด • ร่างขั้นตอนต่างๆ ที่ต้องการให้นักศึกษาทำเพื่อ บรรลุประสงค์ของงาน
Lesson Design • ตรวจสอบว่าครอบคลุมหลักการพื้นฐานของการออกแบบบทเรียนที่ร่วมมือกันเรียนหรือไม่ • เขียนคำอธิบายให้นักศึกษาทราบว่าควรทำอย่างไร จึงจะทำงานได้สำเร็จ
Lesson Design • หลัก 4 ประการ • การพึ่งพาอาศัยกันเชิงบวก • ภาระหน้าที่ของแต่ละบุคคล ในหลายจุดในการทำงาน • การมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน • ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันหลายจุดในบทเรียน
Classroom Management ก่อนจะสอนในห้องเรียนที่ใช้วิธี Cooperative Learning • สไลด์PowerPoint • คำบรรยาย • ต้องคิดเตรียมการเพื่อสร้างความแน่ใจว่า กลุ่มขนาดเล็กจะทำงานได้อย่างอิสระในขณะที่ทำงานร่วมกัน
Classroom Management • การบ้านและการทดสอบเพื่อตรวจสอบการเตรียมตัว • ถ้าออกแบบกิจกรรมไว้ดี เมื่อให้นักศึกษาอ่านบทเรียน จะทำให้ประหยัดเวลา
Classroom Management การวางแผนเตรียมอุปกรณ์การเรียนและประเด็นสำหรับทีม • เขียนคำชี้แจงที่บอกให้ทราบว่าแบบฝึกหัดมีวัตถุประสงค์อย่างไร • ใช้เครื่องมือกราฟิก เช่น T-Chart หรือ Venn Diagram ช่วยในการจัดการผลงาน
Classroom Management • ทักษะการเข้าสังคมเป็นสิ่งจำเป็นในการทำงานให้สำเร็จ • ควรสร้างความแน่ใจว่าทุกคนจะช่วยกันทำงาน • อาจารย์ควรช่วยนักศึกษาระดมความคิดในกรณีที่ต้องใช้ทักษะยากๆ เช่น • การสะท้อนความคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์
Classroom Management ในระหว่างที่กลุ่มนักศึกษาทำงาน • เราควรติดตามผลการทำงาน • เราควรเข้าไปช่วยเหลือเมื่อกลุ่มของนักศึกษาหลงประเด็น • เราควรคอยเตือนนักศึกษาในกลุ่มไม่ให้คุยนอกเรื่อง
Classroom Management หลังจากที่กลุ่มนักศึกษาทำงาน • เราควรสอบถามถึงการทำแบบฝึกหัด • เราควรสุ่มตัวอย่างนักศึกษาเพื่อตรวจสอบการทำงานของกลุ่ม เพื่อดูว่าใครทำได้ • ควรมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของกลุ่มในห้องเรียน
Conclusion • สร้างความสมดุลในทุกประเด็น • ครอบคลุมเนื้อหาวิชา • ให้คิดพิจารณาในขณะออกแบบ • อย่ากังวลมากเกินไป • ทบทวนเมื่อออกแบบบทเรียนเสร็จ