150 likes | 272 Views
ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง Sectoral GHS Implementation Strategies and Development of related Legislation and Plan. กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector นำเสนอต่อการประชุมสัมมนาระดับชาติ เรื่อง GHS: การพัฒนาศักยภาพของประเทศไทยในการจัดการสารเคมีตามระบบสากล วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2549
E N D
ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง Sectoral GHS Implementation Strategies and Development of related Legislation and Plan กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector นำเสนอต่อการประชุมสัมมนาระดับชาติ เรื่อง GHS: การพัฒนาศักยภาพของประเทศไทยในการจัดการสารเคมีตามระบบสากล วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ณ โรงแรม เซอร์ เจมส์ ลอดจ์ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector ประธาน นายสุดสาคร พุทโธ เลขานุการ นางสาวปานทอง ศรีคัฒนพรหม ผู้เข้าร่วมประชุม ประมาณ 30 คน ประเด็นเพื่อระดมสมอง มีหน่วยงานภาครัฐเกี่ยวข้องกี่หน่วย ร่วมมืออย่างไร จุดอ่อน จุดแข็ง ศักยภาพ เป้าหมายที่ควรส่งเสริม กลยุทธระยะสั้น ระยะยาว กิจกรรมระยะสั้น ระยะยาว หน่วยงานหลัก/สนับสนุน การพัฒนาศักยภาพเพื่อความยั่งยืน การพัฒนาเครือข่าย
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector มีหน่วยงานภาครัฐเกี่ยวข้องกี่หน่วย ร่วมมืออย่างไร จุดอ่อน จุดแข็ง ศักยภาพ 1.1 คณะกรรมการวัตถุอันตรายได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการGHS ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 โดยมีองค์ประกอบจากหลายภาคส่วน เช่น หน่วยงานหลัก 7 หน่วยตาม พรบ.วัตถุอันตราย หน่วยงานจากภาคเอกชน อาทิเช่น กลุ่มอุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมธุรกิจเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย สมาคมคนไทยประกอบธุรกิจการเกษตร หน่วยงานเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค เช่น สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยงานวิจัย เช่น สำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (สกว) หน่วยงานที่ยังขาดอยู่ได้แก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา เช่น กระทรวงศึกษาธิการซึ่งรวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาขั้นพื้นฐานและขั้นอุดมศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านรักษาพยาบาลเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น กรมการแพทย์
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector Min. of Industry: Department of Industrial Works,Thai Industries Standard Institute Min. of Agriculture and Cooperatives: Dept. of Agriculture, Dept. of Fishery, Dept. of Livestock Development. Min. of Public Health: Office of FDA. Min. of Science and Technology: Office of Atoms for Peace. Min. of Natural Resources and Environments: Dept. of Pollution Control. Min. of Energy: Dept. of Energy Business. Min. of Labour and Social Welfare: Dept. of Social Welfare and Labour Protection. Min. of Interior: Dept. of Disasters Relief and Prevention. Federation of Thai Industries: Chemical Industry Club. Consumers Protection Associations.
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 1.2 จุดอ่อน จุดแข็ง ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานภาครัฐ จุดอ่อน การบังคับใช้กฎหมายไม่ทั่วถึง มีผู้มีความรู้ด้าน GHS ไม่พอเพียง อาทิเช่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีที่ใช้ในการเกษตรกรรม งบประมาณ จุดแข็ง มีกฎหมายที่ดี ซึ่งพร้อมที่จะรับเอา GHS มาใช้ได้ง่าย โดยเฉพาะ พรบ.วัตถุอันตราย ในเรื่องของฉลากและเอกสารข้อมูลความปลอดภัย ในเรื่องของแรงงานก็มี พรบ.คุ้มครองแรงงาน ที่มีหน้าที่ดูแลโดยตรง เป็นต้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภาคอุตสาหกรรมมีการอบรมอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ความร่วมมือกับหน่วยงานจากประเทศญี่ปุ่น METI/JETRO/AOTS มีหน่วยงานที่เข้าร่วมประชุมกับหน่วยงานระดับสหประชาชาติ (UNSCE/GHS) อย่างต่อเนื่อง เช่น กรมโรงงานอุตสาหกรรม สำนักคณะกรรมการอาหารและยา เป็นต้น
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 1.2 จุดอ่อน จุดแข็ง ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานภาคเอกชน จุดอ่อน ยังเป็นความร่วมมือและช่วยเหลือกันเฉพาะสมาชิก ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยังขาดความรู้และต้องการความช่วยเหลือหลายด้านอย่างต่อเนื่อง จุดแข็ง มีการรวมตัวเป็นกลุ่ม สมาคม อาทิเช่นกลุ่มอุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมธุรกิจเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย สมาคมคนไทยประกอบธุรกิจการเกษตร พร้อมกับได้นำเอานโยบาย Responsible Care ดูแลด้วยความรับผิดชอบ มาประยุกต์ใช้กับสมาชิก ร่วมทำงานกับหน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง มีบุคลากรที่มีความรู้และเข้าใจในเรื่อง GHS ที่ผ่านการอบรมอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ความร่วมมือกับหน่วยงานจากประเทศญี่ปุ่น METI/JETRO/AOTS
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 2. เป้าหมายที่ควรส่งเสริมในการนำเอาระบบ GHS มาใช้ เห็นด้วยตามมติของคณะอนุกรรมการ GHS ในการทีนำเอาระบบGHS มาใช้กับสารเคมีทางภาคอุตสาหกรรมแบบ Building block approach โดยแบ่งเป็นสองระยะ ระยะที่หนึ่ง เริ่ม วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 สารเดี่ยว เฉพาะความเป็นอันตรายทางกายภาพ และความเป็นอันตรายทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อมบางส่วน ได้แก่ ความเป็นพิษเฉียบพลัน (Acute Toxicity) การกัดกร่อนผิวหนัง/การระคายเคืองผิวหนัง (Skin Corrosion/ Irritation) การทำให้ดวงตาเสียหายอย่างรุนแรง/การระคายเคืองดวงตา (Serious Eye Damage/ Eye Irritation) และ การเป็นสารก่อมะเร็ง (Carcinogenicity) ระยะที่สอง เริ่ม วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สารเดี่ยว ความเป็นอันตรายทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในส่วนที่เหลือ สารผสม ความเป็นอันตรายทางกายภาพ และความเป็นอันตรายทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อมทั้งหมด
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 2. เป้าหมายที่ควรส่งเสริมในการนำเอาระบบ GHS มาใช้ (ต่อ) ขณะนี้คณะอนุกรรมการ GHS ได้รอแผนการทำงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีในภาคส่วนอื่น เพื่อรวบรวมนำเสนอคณะกรรมการวัตถุอันตรายเห็นชอบและอนุมัติการทำงานในภาพรวม หลังจากนั้นก็จะนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อเห็นชอบและมีคำสั่งกลางให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อไป
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 3. กลยุทธระยะสั้น ระยะยาว 3.1 ระยะสั้น ความรู้ความเข้าใจ ฐานข้อมูล ฝึกอบรม เครือข่าย ประชาสัมพันธ์ 3.2 ระยะยาว ความสามารถในการทดสอบความเป็นอันตราย เสริมสร้างศักยภาพผู้ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 4. กิจกรรมระยะสั้น ระยะยาว หน่วยงานหลัก/สนับสนุน 4.1 ระยะสั้น ความรู้ความเข้าใจ ฐานข้อมูล กรมโรงงานอุตสาหกรรมโดยสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยประสานหลักในการประสานให้เกิดระบบข้อมูลพื้นฐานสารเคมีที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานตามที่กำหนดในยุทธศาสตร์ที่ 1 เรื่องการพัฒนาเครือข่ายข้อมูลสารเคมีแห่งชาติมาตรการที่ 1 ภายใต้แผนแม่บทพัฒนาความปลอดภัยด้านเคมีวัตถุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 – 2549) ซึ่งได้มีการจัดทำโครงการพัฒนาฐานข้อมูลและเครือข่ายข้อมูลสารเคมีแห่งชาติ ระยะที่ 1 โดยมีโครงการย่อย 4 โครงการ ดังต่อไปนี้ โครงการย่อยที่ 1 : โครงการประสานเครือข่ายเพื่อการเชื่อมโยงข้อมูลสารเคมี โครงการย่อยที่ 2 : โครงการนำเสนอเครือข่ายแหลางข้อมูลพื้นฐานสารเคมีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โครงการย่อยที่ 3 : โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลกำกับการขนส่งวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุ โครงการย่อยที่ 4 : โครงการพัฒนาฐานข้อมูล ความปลอดภัยวัตถุอันตรายทางอุตสาหกรรม โดยระบบซอฟท์แวร์อิงตามมาตรฐาน CMM และ ISO/IEC 12207 งบประมาณ 26 ล้านบาท
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 4. กิจกรรมระยะสั้น ระยะยาว หน่วยงานหลัก/สนับสนุน 4.1 ระยะสั้น ความรู้ความเข้าใจ ฝึกอบรม ให้เชิญกลุ่มผู้ที่ผ่านการอบรมอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ความร่วมมือกับหน่วยงานจากประเทศญี่ปุ่น METI/JETRO/AOTS ประมาณ 500 คน มาสอบถามถึงการนำเอาความรู้ที่ได้ ไปใช้อย่างไร หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก กรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยสำนักเทคโนโลยีความปลอดภัย หน่วยงานสนับสนุน กลุ่มอุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ให้ความรู้กับโรงงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีจากจำนวนโรงงานที่จดทะเบียนภายใต้ พรบ.โรงงาน จำนวน120, 145 โรงงาน ซึ่งประมาณการว่าจะมีโรงงานในกลุ่มเป้าหมายขั้นต้นประมาณ 10,000 โรงงาน หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก กรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยสำนักควบคุมวัตถุอันตราย หน่วยงานสนับสนุน ---
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 4. กิจกรรมระยะสั้น ระยะยาว หน่วยงานหลัก/สนับสนุน 4.1 ระยะสั้น ความรู้ความเข้าใจ เครือข่าย สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) มีเครือข่ายเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย (จป) อยู่ประมาณ 10,000 คน กลุ่มอุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมธุรกิจเคมี และสมาคมอื่นๆที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก สมาคมต่างๆ หน่วยงานสนับสนุน กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประชาสัมพันธ์ แผ่นพับกระจายไปยังกลุ่มเป้าหมาย อาทิเช่น นายจ้าง พนักงาน ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก ผู้มีไว้ในครอบครอง Emergency Responder แพทย์ พยาบาล เป็นต้น หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก กรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยสำนักควบคุมวัตถุอันตราย สำนักเทคโนโลยีความปลอดภัย หน่วยงานสนับสนุน ...........................................
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 4. กิจกรรมระยะสั้น ระยะยาว หน่วยงานหลัก/สนับสนุน 4.2 ระยะยาว ความสามารถในการทดสอบความเป็นอันตราย สำรวจห้องปฏิบัติการในประเทศที่มีความสามารถรองรับการทดสอบตามคุณสมบัติต่างๆ โดยเชื่อมโยงกับข้อมูลที่กำลังสำรวจของสำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (สกว) ส่งเสริมให้มีห้องปฏิบัติการที่สามารถยกระดับการทดสอบตาม OECD test guideline และ ได้มาตรฐาน GLP standard หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมวิทยาศาสตร์บริการ สำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม กระทรวงกลาโหม หน่วยงานสนับสนุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) งบประมาณ ..........................
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 4. กิจกรรมระยะสั้น ระยะยาว หน่วยงานหลัก/สนับสนุน 4.2 ระยะยาว เสริมสร้างศักยภาพผู้ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การสร้างเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ GHS ของประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก กรมโรงงานอุตสาหกรรม ผ่านทาง คณะอนุกรรมการ GHS หน่วยงานสนับสนุน .............................. งบประมาณ .......................... การฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างศักยภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SDS/Labelling/Mixture substances) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก กรมโรงงานอุตสาหกรรม ผ่านทาง คณะอนุกรรมการ GHS หน่วยงานสนับสนุน .............................. งบประมาณ .......................... การเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลสารเคมี หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมศุลกากร หน่วยงานสนับสนุน สำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (สกว) งบประมาณ ..........................
ผลการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector 5. การพัฒนาศักยภาพเพื่อความยั่งยืน การพัฒนาเครือข่ายระหว่างประเทศ 5.1 พัฒนาศักยภาพด้าน เอกสารข้อมูลความปลอดภัย ฐานข้อมูลและความเชื่อมโยง หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก กรมโรงงานอุตสาหกรรม ผ่านทาง คณะอนุกรรมการ GHS หน่วยงานสนับสนุน .............................. งบประมาณ .......................... การขึ้นทะเบียนผู้จัดทำเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (หลักเกณฑ์) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก กรมโรงงานอุตสาหกรรม ผ่านทาง คณะอนุกรรมการ GHS หน่วยงานสนับสนุน .............................. งบประมาณ .......................... เป้าหมายในการเอาระบบ GHS มาใช้ในปี 2008 ให้ออกมาในรูปแบบการเชิญชวนและตระหนักถึงผลดี ผลเสีย ของการนำมาปฏิบัติที่ล่าช้า หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก กรมโรงงานอุตสาหกรรม ผ่านทาง คณะอนุกรรมการ GHS หน่วยงานสนับสนุน .............................. งบประมาณ .......................... ไม่ได้พูดถึงการพัฒนาเครือข่ายระหว่างประเทศ ....................