470 likes | 865 Views
บทที่ 4 โครงการ ( Project). อาจารย์เอกบดินทร์ เกตุขาว. โครงการ (Project). การเริ่มโครงการ (Project Initiation) ปัญหาจากระบบ ปัญหาจากการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ การคัดเลือกโครงการ (Selection of Project) ทำความเข้าใจกับโครงการ กำหนดขนาดของโครงการ ต้นทุน ความเป็นไปได้ทางเทคนิค คำอนุมัติ.
E N D
บทที่ 4 โครงการ (Project) อาจารย์เอกบดินทร์ เกตุขาว
โครงการ (Project) • การเริ่มโครงการ (Project Initiation) • ปัญหาจากระบบ • ปัญหาจากการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ • การคัดเลือกโครงการ (Selection of Project) • ทำความเข้าใจกับโครงการ • กำหนดขนาดของโครงการ • ต้นทุน • ความเป็นไปได้ทางเทคนิค • คำอนุมัติ
โครงการ (Project) • การรวบรวมข้อมูลเพื่อทำการตัดสินใจ • การทบทวนจากเอกสาร • การสัมภาษณ์ • การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • Operational Feasibility • Technical Feasibility • Economic Feasibility
โครงการ (Project) • การวางแผน และ ควบคุมกิจกรรมในโครงการ • การประมาณเวลา > Gantt Chart > Pert Diagram
การเริ่มโครงการ (Project Initiation) • ปัญหาจากระบบ • สังเกตจากพฤติกรรมของพนักงาน • สังเกตการทำงานของระบบ ล้าช้า ทำงานไม่เสร็จ • อาศัยปัญหาจากภายในระบบ และ นอกระบบ เช่น เสียงสะท้อนจาก ลูกค้า ยอดขายต่ำ
การเริ่มโครงการ (Project Initiation) • ปัญหาจากการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ • หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดผลตอบแทนที่ดีแก่องค์กร • การปรับปรุงมีดังนี้ > เพิ่มความเร็วของขบวนการ > กำจัดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น > การรวมขบวนการ > ลดข้อผิดพลาดของเอาต์พุต > ลดการซ้ำซ้อนของข้อมูล > ปรับปรุงการรวมระบบกับระบบย่อย > เพิ่มความพอใจของพนักงาน > เพิ่มความสะดวกแก่บุคคลภายนอก
การเริ่มโครงการ (Project Initiation) • ตัวอย่าง คำขอโครงการ - WHAT IS THE PROBLEM? - DETAILS OF PROBLEM - HOW SIGNIFICANT IS THE PROBLEM? - WHAT DOES USER FEEL IS THE SOLUTION? - HOW INFORMATION SYSTEM WILL HELP - WHO ELSE KNOWS ABOUT THIS AND COLUD BE CONTACTED?
การคัดเลือกโครงการSelection of Projects • ทำความเข้าใจกับโครงการ • โครงการทำอะไร • โครงการต้องการอะไร • เหตุที่ยื่นโครงการ • กำหนดขนาดของโครงการ • พัฒนาระบบใหม่ หรือ ปรับปรุงระบบเดิม
การคัดเลือกโครงการSelection of Projects • ต้นทุน และ ผลตอบแทน • ต้นทุนในการพัฒนา • ต้นทุนอบรม • ต้นทุนติดตั้ง • ความเป็นไปได้ทางเทคนิค • เทคนิคใหม่เข้ากับเทคนิคเดิมหรือไม่ • คำอนุมัติ • การติดตั้งได้รับการอนุมัติ ต่อเมื่อระบบใหม่ให้ประโยชน์ต่อองค์กร
การรวบรวมข้อมูลเพื่อทำการตัดสินใจการรวบรวมข้อมูลเพื่อทำการตัดสินใจ • ทบทวนจากเอกสาร • ศึกษาจากโครงการที่ยื่นขอ • ศึกษาผังขององค์กร • ศึกษาขบวนการสำคัญในองค์กร • หมายเหตุ: เอกสารอาจไม่แสดงสถานในปัจจุบัน • การสัมภาษณ์ • ทราบรายละเอียดเพิ่มเติม • เน้นส่วนที่ต้องการขอ
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการFeasibility Study • ความเป็นไปได้ทางปฏิบัติ (Operational Feasibility) • ระบบสามารถดำเนินการได้ภายหลังการติดตั้ง • ระหว่างการติดตั้งระบบอาจมีปัญหา เหล่านี้ > ได้รับการสนับสนุนจากผู้ใช้หรือไม่ > ระบบ ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับหรือไม่ > ผู้ใช้ระบบมีส่วนว่างแผนหรือไม่ > คำขอก่อประโยชน์ หรือ ข้อเสียหายต่อองค์กร
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการFeasibility Study • ความเป็นไปได้ทางเทคนิค (Technical Feasibility) • เทคโนโลยีที่ต้องการใช้มีในตลาดหรือไม่ • อุปกรณ์ที่เสนอสามารถเก็บข้อมูลที่ต้องการในระบบใหม่ได้หรือไม่ • ระยะเวลาในการโต้ตอบเป็นอย่างไร (คิดตามจำนวนเครื่อง และ ระยะทาง) • หากมีการพัฒนา ระบบสามารถขยายได้หรือไม่ • มีเทคโนโลยีใดที่ประกัน ความถูกต้อง ความเชื่อถือ ง่ายต่อการเข้าถึง และ มีระบบป้องกัน
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการFeasibility Study • ความเป็นไปได้เชิงเศรษฐกิจ (Economic Feasibility) • ต้นทุนในการพัฒนาระบบ • ต้นทุนในการตรวจสอบ • ต้นทุน ของ ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ ที่ใช้กับระบบ • ผลกำไรจากการลดต้นทุน • ผลกำไรอันเกิดจากการลดข้อผิดพลาด • ต้นทุนเมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลง
การวางแผนและควบคุมกิจกรรมActivity Planning and Control • ระบบหนึ่งประกอบด้วยกิจกรรมหลายประเภท จึงต้องมีการ วางแผน และ ควบคุมกิจกรรมต่างๆให้เสร็จภายในกำหนด • การวางแผน เกี่ยวกับการเลือกทีมงาน และ กำหนดระยะเวลา ในแต่ละกิจกรรม • การควบคุม ดำเนินการให้เสร็จตามกำหนด หรือ มีการทบทวน ตารางเวลาหากงานล้าช้า
การวางแผนและควบคุมกิจกรรมActivity Planning and Control • การประมาณเวลา (Estimating Time Request) • คือการกำหนดระยะเวลาการทำงานของแต่ละกิจกรรม ที่ประกอบกัน เป็นระบบ • วิธีการประมาณเวลา * นักวิเคราะห์แบ่งระบบ เป็นส่วนย่อย * แบ่งส่วนย่อยลงอีก จนไม่สามารถแยกย่อยได้ * กำหนดเวลาให้กับรายการย่อย • เครื่องมือช่วยกำหนดระยะเวลา * Gantt Chart * PERT Diagram
การวางแผนและควบคุมกิจกรรมActivity Planning and Control • ตัวอย่าง การกำหนดเวลาของกิจกรรมใน วงจรพัฒนาระบบ • วงจรการพัฒนาระบบ อาจแบ่งการทำงานออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ Analysis Data Gathering Data Flow and Decision Analysis Proposal Preparation Design Data Entry Design Input / Output Design Data Organization Information Implementation, Evaluation
การวางแผนและควบคุมกิจกรรมActivity Planning and Control • แบ่งส่วนย่อยลงอีก
แผนภาพแกรนท์(Gantt Chart) • Gantt Chart ผังแสดงกำหนดระยะเวลาของกิจกรรมต่างๆ แสดงในรูปของแท่งกราฟ แนวนอนแสดงระยะเวลา แนวตั้ง แสดงชนิดของกิจกรรม
Gantt Chart A B C D E F G Completed Incompleted Current week
แผนภาพแกรนท์Gantt Chart • จากผัง กิจกรรม A, C เริ่มพร้อมกัน • แต่กิจกรรม B เริ่มต่อเมื่อ กิจกรรม A เสร็จสิ้น • กิจกรรม D, E เริ่มพร้อมกันภายหลังกิจกรรม B เสร็จ • แท่งสีขวา แสดงถึงกิจกรรมยังไม่แล้วเสร็จ • แท่งสีอ่อน แสดงว่ากิจกรรมแล้วเสร็จ • แท่งที่มีสีผสมกัน แสดงว่าบางส่วนของกิจกรรมดำเนินการแล้ว • Current Week เป็นตัวชี้ว่างานกว้าหน้าหรือ ล้าหลัง
แผนภาพเพริทธ์PERT Diagram • PERT Diagram • เครื่องมือแสดงลำดับการทำงานกับเวลา • ลักษณะคล้าย Network โหนด แสดงเหตุการณ์ (Event) โดยมีหมายเลข บอกลำดับ เช่น 10, 20 ขณะที่ลูกศร แสดงถึงกิจกรรม (activity) • แสดงเส้นทางวิกฤติ • พัฒนาโดย U.S Navy’s Polaris ปี ค.ศ 1950
แผนภาพเพริทธ์PERT Diagram • ตัวอย่าง PERT ของกิจกรรมในวงจรพัฒนาระบบ หรือ กิจกรรมใน Gantt Chart 20 A,4 C,5 E,6 10 40 50 B,2 D,3 30
แผนภาพเพริทธ์PERT Diagram • Pert diagram บอกลำดับงาน จึงใช้กำหนด วันที่จะเริ่ม หรือ จบกิจกรรมได้ เช่น วันที่ 5 ม.ค. • ระยะเวลาที่โครงการแล้วเสร็จ ได้จากการบวกเวลาตามเส้นลูกศร • เส้นทาง ใน ผัง มี 2 ทาง คือ 10-20-40-50 ใช้เวลา 15 วัน และ 10-30-40-50 ใช้เวลา 11 วัน งานจึงจะแล้วเสร็จ • เส้นทางวิกฤต คือ เส้นทางที่ใช้ เวลายาวที่สุด หากมีการล้าช้า ของ กิจกรรมใด ในเส้นทางวิกฤต จะทั้งโครงการล้าช้าไม่เสร็จตามกำหนด ขณะที่เส้นทางยืดหยุ่น สามารถล้าช้าได้ เพราะ ไม่กระทบโครงการ
แผนภาพเพริทธ์PERT Diagram • กิจกรรมเทียม หรือ ดัมมี่ ใช้เพิ่มความชัดเจนแก่ผัง โครงการที่ 1โครงการที่ 2 A,9 A,9 B,2 C,5 B,2 C,5 โครงการที่ 1 เส้นดัมมี่ หมายถึงกิจกรรม C เริ่มเมื่อ A,B เสร็จ ใช้ เวลา 9+5 = 14 วัน โครงการที่ 2 เส้นดัมมี่ หมายถึงกิจกรรม C สามารถเริ่มงานทันที่ที่ B เสร็จไม่ต้องรอ A ใช้เวลาเพียง 9 วัน
แผนภาพเพริทธ์PERT Diagram • กิจกรรม A โครงการที่ 2 สามารถลากเส้นได้โดยตรง A, 9 B,2 C,5
แผนภาพเพริทธ์PERT Diagram • สาเหตุที่ใช้ PERT diagram แทน Gantt Chart • ง่ายต่อการกำหนดขั้นตอนที่มาก่อนหน้า • ง่ายต่อการกำหนดเส้นทางวิกฤต • ง่ายต่อการกำหนดเส้นทางยืดหยุ่น
กิจกรรม A B C D E F G H I J ระยะเวลา(วัน) 5 10 15 20 25 30 35 ผังแกนท์ (Gantt Chart)
2 A,4 D,6 B,5 F,4 G,15 I,4 J, 3 3 7 1 5 6 8 C,3 E,2 H,14 4 แผนภาพเพิร์ต
แผนภาพเพิร์ต • เส้นที่ 1 A D G I J = 4+6+15+4+3 = 32 ------- เส้นวิกฤต • เส้นที่ 2 A D H J = 4+6+14+3 = 27 • เส้นที่ 3 B F G I J = 5+4+15+4+3 = 31 • เส้นที่ 4 B F H J = 5+4+14+3 = 26 • เส้นที่ 5 C E G I J = 3+2+15+4+3 = 27 • เส้นที่ 6 C E H J = 3+2+14+3 = 22 เส้นทางวิกฤต คือ เส้นทางที่ระยะเวลาของเส้นมากที่สุด
Link to Pert Diagram 1 2 3 4 5 6 7,8 9 (Link to Gantt Chart) งาน ระยะเวลาการทำงาน เริ่มหลังจาก (A) การสัมภาษณ์ 2 - (B) การออกแบบสอบถาม 3 A (C) การอ่านรายงานองค์กร 5 B (D) การวิเคราะห์ความต้องการ 1 G, I (E) การนำเสนอตัวต้นแบบ 2 D (F) การสังเกตปฏิกิริยา 5 A (G) แสดงค่าใช้จ่ายและผลลัพธ์ 4 C, F (H) การเตรียมนำเสนอโครงการ 5 D (I) การนำเสนอโครงการ 7 A (J) การดำเนินโครงการ 6 D ตัวอย่าง
(Link to Table) A B C D E F G H I J ตัวอย่าง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25
การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 1 A, 2 10 20 (Link to Table)
การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 2 30 B, 3 A, 2 F, 5 40 10 20 I, 7 50 (Link to Table)
การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 3 Back C, 5 60 30 B, 3 A, 2 F, 5 40 10 20 I, 7 50 Next (Link to Table)
การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 4 Back G, 4 C, 5 60 70 30 B, 3 A, 2 F, 5 40 10 20 I, 7 50 Next (Link to Table)
การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 5 Back D, 1 G, 4 80 C, 5 60 70 30 B, 3 A, 2 F, 5 40 10 20 I, 7 50 Next (Link to Table)
การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 6 90 Back E, 2 H,5 100 D, 1 G, 4 80 C, 5 60 70 30 B, 3 J, 6 A, 2 F, 5 40 10 110 20 I, 7 50 Next (Link to Table)
การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 7, 8 E, 2 H,5 100 A, 2 B, 3 D, 1 G, 4 80 C, 5 60 10 70 20 30 F, 5 J, 6 I, 7 (Link to Table)
การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 9 E, 2 H,5 70 A, 2 B, 3 D, 1 G, 4 60 C, 5 40 10 50 20 30 F, 5 J, 6 I, 7 (Link to Table)
การหาเส้นทางวิกฤติ A-B-C-G-D-E = 2+3+5+4+1+2 = 17 A-B-C-G-D-H = 2+3+5+4+1+5 = 20 A-B-C-G-D-J = 2+3+5+4+1+6 = 21 --- เส้นวิกฤต A-F-G-D-E = 2+5+4+1+2 = 14 A-F-G-D-H = 2+5+4+1+5 = 17 A-F-G-D-J = 2+5+4+1+6 = 16 A-I-D-E = 2+7+1+2 = 12 A-I-D-H = 2+7+1+5 = 15 A-I-D-J = 2+7+1+6 = 16
แบบฝึกหัดข้อ 1 จากตารางกิจกรรมนี้ 3.1. ให้สร้างแผนภูมิแกนต์ (Gant Charts) 3.2. ให้สร้างข่ายงานเพิร์ต (PERT) 3.3. โครงการนี้ใช้เวลาในการดำเนินงานกี่วัน 3.4. เส้นทางวิกฤตคือเส้นทางใด ประกอบไปด้วยกิจกรรมใดบ้าง
แบบฝึกหัดข้อ 2 จากตารางกิจกรรมนี้ 3.1. ให้สร้างแผนภูมิแกนต์ (Gant Charts) 3.2. ให้สร้างข่ายงานเพิร์ต (PERT) 3.3. โครงการนี้ใช้เวลาในการดำเนินงานกี่วัน 3.4. เส้นทางวิกฤตคือเส้นทางใด ประกอบไปด้วยกิจกรรมใดบ้าง