1.04k likes | 2.72k Views
Mechanics of Machinery. อ. โศรฎา แข็งการ Office Hour: จันทร์, อังคาร 10.00 – 12.00 น. Mechanics of Machinery. 425306 Mechanics of Machinery. 430201 Engineering Statics. 425203 Engineering Dynamics. 425312 Mechanical System Design. เนื้อหาวิชาโดยสรุป.
E N D
Mechanics of Machinery อ. โศรฎา แข็งการ Office Hour: จันทร์, อังคาร 10.00 – 12.00 น.
Mechanics of Machinery 425306 Mechanics of Machinery 430201 Engineering Statics 425203 Engineering Dynamics 425312 Mechanical System Design
เนื้อหาวิชาโดยสรุป • กล่าวนำถึงระบบกลไกต่างๆ • การวิเคราะห์ การขจัด ความเร็วและความเร่งในเครื่องจักรกล • การสังเคราะห์ชิ้นส่วนกลไก • การวิเคราะห์แรงสถิตย์ และแรงทางพลศาสตร์ที่เกิดขึ้นในกลไก • การถ่วงสมดุลมวล • การออกแบบลูกเบี้ยว • การออกแบบเฟืองและขบวนเฟือง
Mechanics of Machinery • ตำราประกอบการเรียน Norton, R. L., “Design of Machinery”, 3rd Edition, Mc-Graw Hill, 2004 • ตำราอ่านประกอบ David, H. M., “Machines & Mechanisms”, 3rd Edition, Prentice Hall, 2005
การแบ่งคะแนน 1. การบ้าน 10% 2. ทดสอบย่อย 10% 3. โปรเจค 20% 4. สอบกลางภาค 30% 5. สอบประจำภาค 30% รวม 100%
Outline • หลักการพื้นฐานของคิเนมาติกส์ • บทที่ 1 Introduction • Kinematics and kinetics • Mechanism and Machine • บทที่ 2 Kinematics Fundamentals • Degree of freedom and mobility • Type of motion
Outline • Introduction of Mechanisms (1) • บทที่ 2 Kinematics Fundamentals • Links, Joints and Kinematics Chains • Linkage
หลักการพื้นฐานของคิเนมาติกส์หลักการพื้นฐานของคิเนมาติกส์
Kinematics and Kinetics • Kinematics หรือ จลนศาสตร์ • นิยาม : การศึกษาการเคลื่อนที่โดยไม่สนใจแรงกระทำ (S, v, a) • Kinetics หรือ จนศาสตร์ • นิยาม : การศึกษาแรงของระบบที่มีการเคลื่อนที่ ( F = ma )
Kinematics (จลนศาสตร์) • การวิเคราะห์ • ตำแหน่ง (Position) • ระยะขจัด (Displacement) • การหมุน (Rotation) • อัตราเร็ว (Velocity) • ความเร่ง (Acceleration)
Kinematicsfundamental of Mechanism • Machine หรือ เครื่องจักร • นิยาม : เป็นอุปกรณ์ทางกลที่ใช้ส่งถ่ายการเคลื่อนที่และพลังงาน (Transmit Motion and Energy) • Mechanisms หรือ กลไก • นิยาม : เป็นชิ้นส่วนของเครื่องจักรกลที่ใช้ส่งถ่ายการเคลื่อนที่ (Transmit Motion)
Mobility หรือ Degree of Freedom (DOF) • DOF หรือ ลำดับขั้นความอิสระ • นิยาม : จำนวนของพิกัดอิสระ (independent coordinate) ที่น้อยที่สุด ที่ต้องการเพื่อกำหนดตำแหน่งของชิ้นส่วนหรือกลไก • นิยาม : จำนวน Input ที่ต้องการเพื่อให้ได้การเคลื่อนที่ของ Output ที่ต้องการ
Mobility หรือ Degree of Freedom (DOF) DOF of rigid body in Space DOF of Rigid body in Plane
Mobility หรือ Degree of Freedom (DOF) • DOF of Rigid body in Plane
Type of Motion • Rotation หรือ การหมุนรอบแกนอ้างอิงใด • Translation หรือ การเลื่อนที่ไปในทิศทางอ้างอิงใด Planar Motion
Type of Motion • Pure Rotation : ไม่มีการเลื่อนที่ เมื่อเทียบกับ Reference Frame (ระนาบอ้างอิง) Reference line เปลี่ยนเฉพาะ angular orientation Reference line Reference line
Type of Motion • Pure Translation : ทุกจุดบนวัตถุ จะมี path ขนานกันไป Reference line เปลี่ยนเฉพาะ linear position (ตำแหน่งเชิงเส้น)
Type of Motion • Complex Motion : Rotation + Translation กำหนดให้ใน 2-D Coordination system หรือ Planar Motion (x,y) เป็น Translation component ( ) เป็น Rotation component
Linkage หรือ ระบบชิ้นต่อโยง • นิยาม : เป็นกลไกที่ประกอบด้วยชิ้นส่วน (Link) ที่เชื่อมต่อกัน (Joint) เพื่อทำให้เกิดการเคลื่อนที่แบบลูกโซ่หรือแบบต่อเนื่อง • ประกอบด้วย : • Link : ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นของกลไก, พิจารณาเป็น Rigid body • Joint : จุดต่อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ระหว่าง Link
Linkage หรือ ระบบชิ้นต่อโยง
Link หรือ ชิ้นต่อโยง • นิยาม : Rigid body ที่เป็นชิ้นส่วนแต่ละชิ้นของกลไก จะมีจุดต่อ (node) อย่างน้อย 2 จุด ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับ Link อื่นๆ เพื่อถ่ายเทการเคลื่อนที่และแรงระหว่างกัน • ชนิดของ Link • Binary link : one of 2 nodes • Ternary link : one of 3 nodes • Quaternary link : one of 4 nodes
Joint หรือ Kinematics pairs • นิยาม : เชื่อมต่อระหว่าง link 2 links หรือมากกว่า (ที่ node ของ link) ซึ่งจะทำให้เกิดการเคลื่อนที่สัมพันธ์กันระหว่าง Link • ชนิดของ Joint แบ่งออกเป็น • Lower pair : surface contact • Higher pair : point or line contact
Lower Pair Planar Mechanism 3-D Mechanism
Lower pair หรือ Full Joint • Revolute (R) : Rotating full pin joint
Lower pair หรือ Full Joint • Prismatic (P) : Translating full slider joint
Lower pair หรือ Full Joint Helical (H) : Cylindric (C): Spherical (S) : Flat (F) :
Roll-slide (RP) : Linkage & Plane (Force close) Pin in Slot (Form Close) Higher pair หรือ Half Joint
Planar Motion • Lower pair หรือ Full joint : 1 DOF joint • Higher pair หรือ half joint : > 1 DOF, roll-slider • Joint order = จำนวน link ที่มาต่อกัน - 1
Planar Mechanisms • Kinematics chain • นิยาม : Assembly ของ Links และ Joints ซึ่ง Input link จะทำการควบคุมการเคลื่อนที่ของ Output • Mechanisms: • นิยาม : Kinematics chain ที่มีอย่างน้อย 1 Link ติดอยู่กับ Ground หรือ reference frame
Planar Mechanisms • Ground หมายถึง Link ที่ Fixed อยู่กับ reference frame • Crank หรือ ข้อเหวี่ยง หมายถึง Link ที่สามารถเคลื่อนที่ ครบรอบ รอบจุดยึดที่ติดอยู่กับ ground • Rocker หมายถึง Link ที่แกว่งไปมา หรือ โยกไปมารอบจุดยึด ที่ติดอยู่กับ ground • Coupler หรือ Complex link หมายถึง Link ที่มี Complex motion และไม่มีจุดที่ยึดติดกับ Ground
การหา DOF หรือ Mobility • In Planar Mechanisms • ทุกๆ Link ใน Plane มี 3 DOF • 2 Links ที่ไม่ต่อกัน จะมี 6 DOF
การหา DOF หรือ Mobility • ถ้า Connection เป็น แบบ Full Joint จะลดลงไป 2 DOF เหลือ 4 DOF
การหา DOF หรือ Mobility • ถ้า Connection เป็น แบบ Half Joint จะลดลงไป 1 DOF เหลือ 5 DOF • ถ้า Link ใด ถูกยึดอยู่กับ ground จะมี DOF เป็น 0
การหา DOF หรือ Mobility • Gruebler’s Equation : DOF หรือ M = 3L – 2J – 3G หรือ M = 3(L - 1) – 2J โดยที่ L คือ จำนวนของ Link ทั้งหมดในกลไก (รวม ground) J คือ จำนวนของ Joint ในกลไก Full Joint = 1 Half Joint = 0.5
การหา DOF หรือ Mobility • Kutzbach’s Equation : DOF หรือ M = 3(L-1) – 2J1 – J2 โดยที่ L คือ จำนวนของ Link ทั้งหมดในกลไก (รวม ground) J1คือ จำนวนของ Full Joint ในกลไก J2คือ จำนวนของ Half Joint ในกลไก
การหา DOF หรือ Mobility • กลไกที่มี DOF = 1 เรียกว่า กลไกแบบบังคับ (Constrained Mechanism) • กลไกที่มี DOF <= 0 เรียกว่า กลไกแบบไม่เคลื่อนที่ (Locked Mechanism) • กลไกที่มี DOF > 1 เรียกว่า กลไกแบบไม่บังคับ (Unconstraint Mechanism) เช่น แขนกล เป็นต้น
ตัวอย่างการหา Mobility • มีขั้นตอนดังนี้ • กลไกมี Link ทั้งหมด 4 Links L = 4 • มีจุด Joint แบบ pin (full joint) 4 jointsJ = 4 • มี Link Ground 1 Link จะได้ว่า M = 3(4 - 1) – 2x4 M = 1
ตัวอย่างการหา Mobility • มีขั้นตอนดังนี้ • กลไกมี Link ทั้งหมด 9 Links L = 9 • มีจุด Joint แบบ pin (full joint) 10 joints และ slide 2 jointsJ = 12 • มี Link Ground 1 Link จะได้ว่า M = 3(9 - 1) – 2x12 M = 0 11 1 2 9 10 6 5 7 8 12 4 3
Kinematics Diagram หรือ แผนผังจลนศาสตร์ • เป็นการจำลองชิ้นส่วนของกลไกในเครื่องจักรจริงซึ่งมีความซับซ้อนให้อยู่ในรูปที่ง่ายขึ้น เพื่อความสะดวกต่อการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของกลไก
Kinematics Diagram • การเขียนแผนผังจลนศาสตร์ ควรเขียนตามมาตราส่วนเทียบกับชิ้นส่วนจริง • การอ้างอิงชิ้นต่อโยง (Link) ให้ใช้ตัวเลข (1,2,3,…) แทนชิ้นต่อโยง โดยถือว่า ground เป็นชิ้นต่อโยงแรก (Link 1) และชิ้นต่อโยงส่วนที่เหลือให้กำหนดด้วยตัวเลขตามลำดับ • การอ้างอิงจุดต่อเชื่อม ให้ใช้ตัวอักษร (A,B,C,D,…)
Kinematics Diagram • การกำหนด ground หรือ Frame • ถ้าหากชิ้นต่อโยงถูกกำหนดให้เป็น ground การเคลื่อนที่ของชิ้นต่อโยงอื่น ๆ จะสัมพันธ์กับ ground นี้ • ชิ้นต่อโยงที่ยึดติดแน่นกับที่เช่น พื้น หรือ ฐาน ถือว่าเป็น ground • ถ้าหากไม่มีชิ้นต่อโยงใดยึดติดแน่นกับที่ ให้กำหนดชิ้นต่อโยงใดเป็น ground ก็ได้ และชิ้นต่อโยงที่เหลือจะเคลื่อนที่สัมพันธ์กับ ground ที่กำหนด