1 / 29

Engineering Graphics II [WEEK5]

Engineering Graphics II [WEEK5]. การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว การแสดงการยึดชิ้นงานใน Solid Work. การยึดต่อด้วยสลักเกลียว. การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว. การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียวอาจทำได้โดยหลายวิธี คือ 1. Bolt and Nut 2. Cap Screw/Set Screw 3. Stud. การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว.

dolan
Download Presentation

Engineering Graphics II [WEEK5]

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Engineering Graphics II [WEEK5] • การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว • การแสดงการยึดชิ้นงานใน Solid Work

  2. การยึดต่อด้วยสลักเกลียวการยึดต่อด้วยสลักเกลียว

  3. การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียวการยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว • การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียวอาจทำได้โดยหลายวิธี คือ 1. Bolt and Nut 2. Cap Screw/Set Screw 3. Stud

  4. การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียวการยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียวจะอาศัยหลักการกดชิ้นงานไม่ให้แยกออกจากกันด้วยการขันตึง

  5. Bolt and Nut • รูปทรงของหัว Bolt และ Nut อาจมีได้ในหลายลักษณะขึ้นกับวัตถุประสงค์การใช้งาน • ลักษณะที่พบเสมอคือ Bolt และ Nut ที่มีหัวหกเหลี่ยม(Hexagon) และ สี่เหลี่ยม(Square)

  6. Cap Screw • โดยทั่วไปจะใช้งานสำหรับการยึดจับชิ้นงานที่ต้องการความแม่นยำสูง • ลักษณะหัวของ Cap Screw

  7. Set Screw • ใช้งานเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการเคลื่อนที่ระหว่างชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เช่น ใช้ Set Screw เพื่อไม่ให้มู่เล่เคลื่อนที่ตามเพลาหมุน เป็นต้น • ลักษณะหัวของ Set Screw

  8. สลักเกลียวยึดชิ้นงานอื่นๆสลักเกลียวยึดชิ้นงานอื่นๆ

  9. Major diameter (d) = เส้นผ่านศูนย์กลางที่ใหญ่ที่สุดของเกลียว Major diameter Mean diameter Minor diameter Pitch Minor diameter(dr ) = เส้นผ่านศูนย์กลางที่เล็กสุดของเกลียว Root Mean diameter = เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของเกลียว Crest Thread angle Root = รากเกลียว Pitch(P) = ระยะที่วัดจากสันเกลียวหนึ่งถึงสันเกลียวถัดไป Crest = ยอดเกลียว Thread angle = มุมเกลียว มิติเกลียว

  10. มิติเกลียว Lead (L) = ระยะที่ nut เคลื่อนที่ตามแนวแกนของเกลียวเมื่อ nut หมุนครบ 1 รอบ

  11. Double - Thread (L = 2P) Triple - Thread (L = 3P) Multiple Thread ประเภทเกลียว Single threads คือ เกลียวที่มีระยะที่ Nut หมุนเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ เท่ากับ ระยะจากสันเกลียวหนึ่งถึงสันเกลียวถัดไป Lead(L) = Pitch(P)

  12. มาตรฐานเกลียว • เกลียวเมตริก (Metric thread) • เกลียวยูนิไฟล (Unified thread) แบ่งตามความละเอียดของเกลียว เช่นกันคือ เกลียวหยาบ(Coarse - Pitch Series) ,เกลียวละเอียด(Fine - Pitch Series)

  13. มาตรฐานเกลียวยูนิไฟล เกลียวยูนิไฟล อาจแบ่งตามลักษณะของโคนฟันเป็น 2 แบบ คือ 1. UN คือ เกลียวที่มีโคนฟันแบนราบ 2. UNR คือ เกลียวที่โคนฟันโค้ง r UNR Threads UN Threads

  14. มาตรฐานเกลียวยูนิไฟล 1. Nominal major diameter 2. จำนวนเกลียวต่อความยาว 1 นิ้ว 3. ชนิดเกลียว (Thread series) หมายถึง เกลียวที่มี d = 5/8 นิ้ว จำนวนเกลียว 18 เกลียวต่อความยาว 1 นิ้ว และเป็นชนิด UNR ชนิดละเอียด(F) 18 UNR F

  15. มาตรฐานเกลียวเมตริก มีรูปร่างเช่นเดียวกับเกลียว ยูนิไฟล แตกต่างกับเกลียวยูนิไฟล คือเกลียวชนิดนี้ใช้หน่วย มิลลิเมตร แทนที่จะเป็นหน่วยนิ้ว เกลียวเมตริก แบ่งประเภทตามลักษณะของเกลียวเป็น 2 ประเภท คือ 1. M Profilesคือ เกลียวทำมุมเอียง 60 องศา 2. MJ Profilesคือ ที่รากเกลียว(Root) มีลักษณะโค้งมน

  16. x 12 มาตรฐานเกลียวเมตริก การระบุเกลียวเมตริกทำได้โดย 1. บ่งบอกว่าเป็นเกลียวเมตริก M 1.75 2. Major diameter 3. ระยะพิท หมายถึง เกลียวเมตริกที่มีขนาด Major Diameter 12 mm ระยะพิท 1.75 mm

  17. รูเจาะสำหรับการยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียวรูเจาะสำหรับการยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว • รูเจาะสำหรับการจับยึดชิ้นงานมีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอกที่มีปลายเป็นรูปกรวยทำมุมประมาณ 30 องศากับแนวระดับ

  18. รูเจาะสำหรับการยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียวรูเจาะสำหรับการยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว • ความลึกรูเจาะจะประกอบด้วย ความยาวในส่วนที่มีเกลียว และ ความยาวในส่วนไม่มีเกลียว • ขนาดของรูเจาะจะต้องยึดตามมาตรฐานของ screw ที่ใช้

  19. โปรแกรม SolidWorks การยึดต่อด้วยสลักเกลียว

  20. เริ่มต้นการยึดด้วยสลักเกลียวด้วย SolidWorks • สลักเกลียวชนิดต่างๆ ในโปรแกรม SolidWork จะถูกรวมอยู่ใน Toolbox • ดังนั้นในการเริ่มใช้งานจึงควรทำการ enable toolbox ก่อน Tool -> Add-Ins -> เลือก SolidWork Toolbox -> เลือก SolidWork Toolbox Browser

  21. เริ่มต้นการยึดด้วยสลักเกลียวด้วย SolidWorks • ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลภายใต้มาตรฐานต่างๆ จะถูกรวมอยู่ใน Design Liberary -> Toolbox

  22. ใช้ Hold Wizard สำหรับรูเจาะสลักเกลียว • การเจาะรูตามมาตรฐาน สามารถกำหนดโดยใช้ Hole Wizard Features -> Hole -> Wizard

  23. การกำหนดเงื่อนไข • เราสามารถเปลี่ยนข้อกำหนดของ Bolt และ Nut ได้หรือชิ้นส่วนเครื่องจักรกลอื่นที่เรียกจาก Toolbox ได้โดยการใช้คำสั่ง Edit Toolbox definition

  24. การยึดชิ้นงานจำนวนมากอย่างอัตโนมัติการยึดชิ้นงานจำนวนมากอย่างอัตโนมัติ • กรณีทำการยึดชิ้นงานจำนวนมากอย่างอัตโนมัติเราสามารถทำได้โดยใช้ Smart Fasteners Browser • Smart Fastener Browser เริ่มต้นจากการกำหนดมาตรฐานรูเจาะก่อน เพื่อให้ชนิดของสลักเกลียวมีความสัมพันธ์กับรูเจาะ Toolbox -> Browser Configuration -> Smart Fasteners

  25. การกำหนดรูเจาะบน Smart Fasteners Browser

  26. การเลือกสลักเกลียวอย่างอัตโนมัติการเลือกสลักเกลียวอย่างอัตโนมัติ • จากนั้นทำการเลือก Smart Fasteners • เราสามารถเลือกรูเจาะตามที่เราต้องการ หรือเลือกรูเจาะทั้งหมดโดย Populate All ได้ • เมื่อเราเลือกรูเจาะเสร็จแล้วจะปรากฎสลักเกลียวชนิดต่างที่สอดคล้องกับชนิดรูเจาะที่รูเจาะที่เราเลือกนั้น

  27. การใส่แหวน(Washer) และแป้นเกลียว(NUT) • การใส่ Nut ทำได้โดยการ Edit Smart Fasteners • จากนั้นเลือก Bottom stack หรือ Top stack ตามต้องการ และทำการเลือก Nut ที่สอดคล้องกับ Bolt และ รูเจาะ

  28. การเปลี่ยนชนิดของชิ้นงานจับยึดการเปลี่ยนชนิดของชิ้นงานจับยึด • เรายังคงสามารถเปลี่ยนชนิดของ fastener ได้โดย Edit Smart Fastener -> เลือก Fastener -> Change Fastener Type

  29. การแสดงการประกอบชิ้นงานการแสดงการประกอบชิ้นงาน • สามารถแสดงได้เช่นเดียวกับ Assembly ทั่วไป

More Related