740 likes | 1.7k Views
Phylum Cnidaria. อ.แน็ต. Phylum Cnidaria. สัตว์ หลายเซลล์ กลุ่มแรกที่มี เนื้อเยื่อแท้จริง เนื้อเยื่อมี 2 ชั้นคือ epidermis และ gastrodermis คั่นกลางด้วยชั้นวุ้น ( mesoglea ) สัตว์กลุ่มแรกที่มีระบบประสาท ( nerve net ) มีเซลล์พิเศษชื่อ cnidocyte Gastrovascular cavity ย่อยอาหาร
E N D
Phylum Cnidaria อ.แน็ต
Phylum Cnidaria • สัตว์หลายเซลล์กลุ่มแรกที่มีเนื้อเยื่อแท้จริง • เนื้อเยื่อมี 2ชั้นคือ epidermisและ gastrodermisคั่นกลางด้วยชั้นวุ้น (mesoglea) • สัตว์กลุ่มแรกที่มีระบบประสาท (nerve net) • มีเซลล์พิเศษชื่อ cnidocyte • Gastrovascular cavity ย่อยอาหาร • มากกว่า 97%อยู่ในทะเล
Cnidarian form • Polyp form • ทรงกระบอก โพรงกลางตัว • Basal disc เป็นฐานยึดเกาะ • Oral disc ช่องปากอยู่กึ่งกลางมี tentacle เรียงตัวอยู่รอบ
2.Medusa form • คล้ายร่มหรือระฆังคว่ำ • ด้านนอกโค้งเรียก exumbrella • ด้านในเว้าเข้าเรียก subumbrella • กึ่งกลางมีงวงยื่นเรียก manubriumปลายเปิดเป็นช่องปาก (oral) • ขอบถ้วยมี tentacle ยื่นออกมา
Cnidocyte • เซลล์พิเศษมีหน้าที่ป้องกันตัวและจับอาหาร • Cnidocil รับสัมผัส • Nematocyst เป็น organelle ที่เซลล์สร้างขึ้น ประกอบด้วย capsule ที่มีฝาปิด (operculum) ภายในมีเส้นด้ายพิษขดอยู่
Nematocyst ใน Hydra • Penetrant - ขนาดใหญ่ capsuleรูปไข่ - ส่วนฐานของ nematocystพองออก มีหนามเรียงเป็นแถว 3แถว - ที่ nematocystมีหนามเรียงเป็นเกลียว ปลายด้ายเปิด - ด้ายพิษแทงเข้าตัวเหยื่อ ปล่อยสารพิษให้เหยื่อเป็นอัมพาต
2. Volvent - ขนาดเล็ก capsule รูปไข่ - ด้ายพิษพุ่งเข้าพันตัวเหยื่อ ปลายด้ายปิด ไม่มีหนามบนด้าย 3. Streptoline glutinant - capsule ยาว ปลายด้ายเปิด ไม่มีหนามบนด้าย ใช้ยึด tentacle กับวัตถุเวลาเคลื่อนที่ 4. Stereoline glutinant - capsule รูปไข่ ด้ายพิษมีหนามเรียงเป็นชั้น ปลายด้ายเปิด
Volvent Glutinant
Glutinant Penetrant Volvent
หลังโดนเข็มพิษทันที หลังโดนเข็มพิษ 8 ชม. หลังโดนเข็มพิษ 1 วัน หลังโดนเข็มพิษ 2 วัน
หลังโดนเข็มพิษ 4 วัน หลังโดนเข็มพิษ 5 วัน หลังโดนเข็มพิษ 9 วัน หลังโดนเข็มพิษ 6 วัน
การกินและย่อยอาหาร • Tentacleส่งอาหารเข้าปาก • อาหารเข้าสู่ gastrovascular cavity มีเซลล์ย่อยอาหาร • การย่อยภายนอกเซลล์ มีenzymatic gland cellสร้างน้ำย่อยปล่อยมานอกเซลล์ • การย่อยภายในเซลล์ มี nutritive cellกินอาหารที่ผ่านการย่อยขั้นต้นโดยวิธี engulfment
Nervous System • Nerve cells กระจายทั่วร่างกายเป็น nerve net
Class Hydrozoa • ส่วนใหญ่พบในน้ำเค็ม น้ำจืดมีประมาณ 20 ชนิด • Cnidocyte มีในepidermisเท่านั้น • รูปร่างพบได้ทั้ง 2แบบ • Hydromedusa มีเยื่อบางที่ด้านในขอบถ้วยเรียกว่าvelum • Mesoglea เป็นชั้นบางๆ • Asexual reproduction โดยbudding • Sexual reproduction สร้างgameteแล้วปล่อยสู่แหล่งน้ำ
Hydra Body Wall Gastrovascular cavity Gastrodermis Mesoglea Epidermis
Epidermis Mesoglea Endodermis (gastrodermis)
Chlorohydra viridissima • endosymbiontโดย zoochlorellae ในชั้น gastrodermis
Class HydrozoaHydra Encapsulated embryo Ovaries Budding Spermaries Asexual cycle Sexual cycle
Obeliaอาศัยอยู่ในทะเล เป็น colonial hydroid • - hydrorhizaยึดเกาะกับพื้น แตกแขนงออกคล้าย • รากต้นไม้ • - hydrocaulusงอกขึ้นมาจาก hydrorhiza • - coenosarcมีชีวิต คือชั้น epidermis • และ gastrodermis • - perisarcไม่มีชีวิต เป็นสาร chitin ที่ • epidemis สร้างขึ้น
Polypมี 2ชนิดคือ 1. Hydranthเป็น feeding polyp คล้ายไฮดราขนาดเล็ก มี tentacle จำนวนมาก 2. Gonangiumงอกจากมุมก้าน hydranth กับ hydrocaulus เป็น reproductive polyp - blastostyle - medusa bud - gonotheca และ gonopore
Hydromedusa • ขอบด้านในของถ้วยมี velum • Gastrovascular cavity เป็นท่อ 4ท่อแยกจาก manubrium ตามแนว radial canal • ปลาย radial canal เชื่อมต่อกันเป็นท่อวงแหวน (ring canal) • Gonad 4 ก้อนจาก epidermisมีตำแหน่งอยู่ใต้ radial canal (Obeliaไม่มี velum)
Class HydrozoaPhysalia spp. • Hydroid ชนิด polymorphic colony • Pneumatophore เปลี่ยนแปลงจาก ectoderm • ในระยะตัวอ่อน มี gas glandสร้างแก๊ส • Coenosarc งอก polyp เป็นกลุ่ม (cormidia) • Cormidia ประกอบด้วย polyp มากกว่า 2 ชนิด • และมีหน้าที่แตกต่างกัน
Cormidiaแต่ละกลุ่มมีชนิดของ polypดังนี้ 1. Dactylozooidอยู่ด้านนอก cormidia รูปทรงกระบอก ไม่มีปาก หนวด 1 เส้นยาวคล้ายริบบิ้นและมี cnidocyte จำนวนมากบนหนวด ใช้ป้องกันตัวและจับเหยื่อ 2. Gastrozooidรูปทรงกระบอก มีช่องปากตรงปลาย ไม่มีหนวด เกี่ยวข้องกับการกินอาหาร 3. Gonozooidแตกแขนงคล้ายพืช บนแขนงมี medusa ทั้ง 2 เพศ เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์
Class HydrozoaPorpita spp. • colony เป็นทุ่นลอยกลมแบน • ใต้ทุ่นมี polyp 3แบบคือ • - gastrozooidตรงกลาง • - gonozooidรอบ gastrozooid • - dactylozooidขอบทุ่นลอย
Class HydrozoaCraspedacusta sowerbyi • แมงกะพรุนน้ำจืด • มีรายงาน 5 จังหวัด ได้แก่ เพชรบูรณ์ มุกดาหาร เลย อุบลราชธานีและหนองคาย พบได้ช่วงหน้าแล้ง บริเวณริมฝั่งแม่น้ำ ที่เป็นแอ่งน้ำสงบนิ่ง • ประเทศไทยพบเป็นลำดับที่ 6 ของโลก
Class Scyphozoa • อยู่ในทะเลทั้งหมด • รูปร่างหลักเป็นแบบ medusa • Gamete สร้างจากชั้นgastrodermis • Scyphomedusa ไม่มี velum • Cnidocyte อยู่ใน epidermis และ gastrodermis • Mesoglea เป็นชั้นหนา • Statocyst ช่วยทรงตัว