1 / 56

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. โดย นางปานจิต จินดากุล ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารการเปลี่ยนแปลง 2 สำนักงาน ก.พ.ร. 27 มีนาคม 2552. ลำดับการนำเสนอ. นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี.

duaa
Download Presentation

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • โดย นางปานจิต จินดากุล • ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารการเปลี่ยนแปลง 2 • สำนักงาน ก.พ.ร. • 27 มีนาคม 2552

  2. ลำดับการนำเสนอ

  3. นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี หมายถึงการประกาศเจตนารมณ์ขององค์การที่จะดำเนินการและกำหนดนโยบายตามหลักธรรมา ภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยผู้บริหารของแต่ละองค์การจะต้องวางนโยบายเกี่ยวกับรัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์การและผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งกำหนดแนวทางปฏิบัติ และมาตรการหรือโครงการ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบายขององค์การ

  4. ที่มา และแนวคิด

  5. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พศ 2542 Good Governance 1. หลักนิติธรรมหมายถึง การตรากฎหมายที่ถูกต้องเป็นธรรม การบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย การกำหนดกฎ กติกา และการปฏิบัติตามกฎ กติกาที่ตกลงกันไว้อย่างเคร่งครัดโดยคำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพ ความยุติธรรมของสมาชิก 2. หลักคุณธรรมหมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้อง ดีงาม การส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนพัฒนาตนเองไปพร้อมกัน เพื่อให้คนไทยมีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพสุจริตจนเป็นนิสัยประจำชาติ 3. หลักความโปร่งใสหมายถึง การสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันของคนในชาติ โดยปรับปรุงกลไกการทำงานขององค์กรทุกวงการให้มีความโปร่งใส 4. หลักความมีส่วนร่วมหมายถึง การเปิด โอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ และเสนอความเห็นในการตัดสินใจปัญหาสำคัญของประเทศไม่ว่าด้วยการแจ้งความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ หรืออื่น ๆ 5. หลักความรับผิดชอบหมายถึง การตระหนักในสิทธิหน้าที่ความสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง และกระตือรือร้น ในการแก้ปัญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และความกล้าที่จะยอมรับ ผลดีและผลเสียจากการกระทำของตน 6. หลักความคุ้มค่าหมายถึง การบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีจำกัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม โดยรณรงค์ให้คนไทยมีความประหยัด ใช้ของอย่างคุ้มค่า สร้างสรรค์สินค้าและบริการที่มีคุณภาพสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก และรักษาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์ยั่งยืน ยกเลิกแล้ว 9

  6. หลักธรรมาภิบาล UNDP คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง กลุ่มภารกิจและกรม ระดับความสำเร็จตามพันธกิจหรือภารกิจหลักของกรม ภายนอก Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ Learning and Growth Perspective พัฒนาองค์การ ระดับความสำเร็จการปรับปรุงกระบวนงาน ประสิทธิภาพการบริหารการเบิกจ่ายงบประมาณ การประหยัดพลังงาน ภายใน การพัฒนาทุนด้านความรู้และสารสนเทศ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนาทุนด้านมนุษย์ การพัฒนากฎหมาย Strategy Map / Balanced Scorecard

  7. สิ่งที่ควรคำนึงเรื่อง HR ความแตกต่างของบุคลากรในองค์กร กลุ่ม Baby Boomerผู้มีอายุระหว่าง 42-65 ปี มีความต้องการด้านความมั่นคงในการทำงาน และต้องการดูแลด้านสุขภาพโดยไม่มีข้อจำกัดด้านวงเงิน ขณะเดียวกันต้องการชื่อเสียง และการให้เกียรติ 1946 -1964 Be stable กลุ่ม Generation-Xอายุระหว่าง 35-41 ปี ไม่ต้องการสวัสดิการมากแต่มีความต้องการที่จะเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ ตลอดเวลาเช่น ให้ทุนการศึกษาแก่พนักงานในสถาน ศึกษาที่มีชื่อเสียงขณะเดียวกันต้องการความยืนหยุ่นเพราะคนในวัยนี้กำลังสร้างครอบครัว 1965 – 1978 Be efficient 1978 – 2000 กลุ่ม Generation-Yสวัสดิการแบบไลฟ์สไตล์และต้องความอิสระมากในการทำงาน ต้องการความฉับไวในการใช้ชีวิต ไม่ชอบการทำงานอย่างจำเจชอบแตกต่างและการเปลี่ยนแปลง Be myself 2000 กลุ่ม Generation-Zมีความคิดสร้างสรรมากกว่าGen-X และ Gen-Yมักมีโลก 2 ใบ***ใบหนึ่ง คือโลกเสมือนจริงในจอคอมฯกับโลกที่เกิดขึ้นหลังจากเงยหน้าจากจอคอมฯนั่นเอง Be different

  8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 74 และ 78 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย • มาตรา 74 กำหนดให้ “บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในการปฏิบัติหน้าที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน บุคคลตามวรรคหนึ่งต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง….” • มาตรา 78 (4) (5) รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดินดังต่อไปนี้ • (4) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทำงาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ • (5) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้การจัดทำและการให้บริการสาธารณะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน

  9. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 (2545) มาตรา 3/1 “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไป (2) เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน (3) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (4) ความมีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐ (5)การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (6) การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็นการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น (7) การกระจายอำนาจตัดสินใจการอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชนทั้งนี้(8) โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง” พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน “ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงานการมีส่วนร่วมของประชาชนการเปิดเผยข้อมูลการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้”

  10. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี(มาตรา 6) หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของ(มาตรา 7-มาตรา 8) ประชาชน หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (มาตรา 9-มาตรา 19) ต่อภารกิจของรัฐ หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิ (มาตรา 20-มาตรา 26) และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน(มาตรา 27-มาตรา 32) หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ(มาตรา 33-มาตรา 36) หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง(มาตรา 37-มาตรา 44) ความต้องการของประชาชน หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ(มาตรา 45-มาตรา 49) หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด(มาตรา 50-มาตรา 53) พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  11. PMQA ลักษณะสำคัญขององค์การ สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์การ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4

  12. หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทางของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสาธารณะ ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม • การกำหนดวิสัย ทัศน์ ค่านิยมทิศ ทาง ผลการ ดำเนินการที่คาด หวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยา กาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัต กรรมและความคล่องตัว • การทบทวน ผลการดำเนินการ • การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ • ความโปร่งใสตรวจสอบได้ • ความรับผิดชอบ • การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ • การดำเนิน การกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม • การดำเนิน การต่อความกังวลของสาธารณะ • การดำเนิน การอย่างมีจริยธรรม • การวัดและการตรวจติดตามการมี จริยธรรม องค์กร • การสนับสนุนและสร้างความเข้ม แข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ

  13. วิสัยทัศน์ของระบบราชการไทยใน 5 ปีข้างหน้า GOOD GOVERNANCE, ETHICAL CONDUCTS ปริมาณและ ความยากของงาน สร้างความเชื่อมั่น ไว้วางใจ DEMOCRATIC GOVERNANCE HIGH PERFORMANCE PUBLIC ORGANIZATION ความแตกต่าง หลากหลาย จำเป็นต้องทำงาน เป็นเครือข่าย RESPONSIVENESS TO CHALLENGES

  14. ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย(พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและ การทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซํบซ้อนหลาก หลาย และเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงาน ให้มีลักษณะเชิงบูรณาการเกิดการแสวงหาความร่วมมือ และสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ระชาชน เข้ามามีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจและสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงบุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสม ต่อสถานการณ์ต่าง ๆ

  15. การพัฒนารูปแบบ

  16. นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 1.ส่งเสริม สนับสนุนแนวความคิดใหม่ๆ ตลอดจนการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการให้บริการเพื่อความสะดวกและทันสมัย 1. ให้ความสำคัญกับการรักษาและส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากการดำเนินงาน 2.สนับสนุนการปรับปรุงการดำเนินงานด้วยการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม 2.มุ่งมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสรรค์สังคมที่ดี มีความสุข ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน ด้าน องค์การ 1. ให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของสำนักงาน 1. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 2.สงเสริม ปลูกฝังและกระตุนใหผู้ปฏิบัติงานตระหนักถึงความเสี่ยงจนเปน วัฒนธรรมองคการ 2. มุ่งส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3.มุ่งเน้นการปฏิบัติงานที่ปราศจากทุจริตหรือมีผลประโยชน์ทับซ้อน

  17. องค์ประกอบสำคัญ ในการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 1. นโยบายหลัก 4 ด้าน • นโยบายด้านรัฐ สังคมและสิ่งแวดล้อม • นโยบายด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • นโยบายด้านองค์การ • นโยบายด้านผู้ปฏิบัติงาน 2. แนวทางปฏิบัติรองรับนโยบายหลักแต่ละด้าน

  18. องค์ประกอบของนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (เพิ่มเติม – เป็นทางเลือก) วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) ค่านิยมหลัก (Core Values) โครงสร้างองค์การ (Organization Structure) 3. ข้อมูลองค์การ หลักการ วัตถุประสงค์* 4. หลักการและวัตถุประสงค์

  19. ตัวอย่าง: นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของบริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด นโยบายหลัก 4 ด้าน ด้านรัฐ สังคม และ สิ่งแวดล้อม 2. ด้านผู้รับบริการ และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. ด้านองค์การ 4. ด้านผู้ปฏิบัติงาน • แนวทางปฏิบัติ • ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม • ด้านผู้รับบริการและผู้ส่วนได้ส่วนเสีย • จัดทำหลักเกณฑ์และรูปแบบการให้บริการที่มีมาตรฐาน • ฝึกอบรมพนักงานเกี่ยวกับการบริการที่ดี • ด้านองค์การ • มีการประเมินความเสี่ยงในโครงการลงทุนทุกโครงการ • ด้านผู้ปฏิบัติงาน • สร้างบรรยากาศการทำงานอย่างมีส่วนร่วม และเปิดโอกาสให้พนักงานแสดงความคิดเห็น • บริษัทมีเจตจำนงที่จะประกอบธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม • มาตรการ/โครงการ • โครงการส่งเสริมเทคโนโลยีสะอาด โดย • โครงการรณรงค์กันทำความดีเพื่อส่งเสริมการทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี การนำไปปฏิบัติและประเมินผล • ส่งเสริม ให้พนักงานมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ขออนุมัติและประกาศใช้ • ______________________________________________________________________________________________________ • การจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยและของเสียจากกรมและร้านอาหาร • มาตรการการใช้ไฟฟ้าและน้ำเพื่อลดภาวะโลกร้อน • บริษัทจะให้บริการที่มีคุณภาพ มาตรฐานและสุภาพอ่อนน้อม การนำไปปฏิบัติให้เกิดผล สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ทราบทั่วกัน • บริษัทมีความมุ่งมั่นทีจะบริหารความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและผลตอบแทน เสริมสร้างความเข้าใจ ติดตามประเมินผล • บริษัทตระหนักในคุณค่าทรัพยากรมนุษย์ โดยส่งเสริมบรรยากาศการทำงานแบบมีส่วนร่วม

  20. บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี วิสัยทัศน์ ให้สังคม/ชุมชนมีส่วนร่วมในนโยบาย สนองนโยบายรัฐ ภายใต้กฎหมาย พันธกิจ รับผิดชอบต่อสังคม และชุมชน รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม คุ้มค่า ประโยชน์ของรัฐ ลูกค้า โปร่งใส เป็นธรรม มีส่วนร่วม รวดเร็ว มีคุณภาพ ตอบสนอง ไม่เลือกปฏิบัติ กระบวนงาน เน้นผลสัมฤทธิ์ ควบคุม กำกับ ดูแล บริหารความเสี่ยง ผู้ปฏิบัติงาน โปร่งใส เป็นธรรม มีส่วนร่วม ไม่เลือกปฏิบัติ มีคุณภาพชีวิตที่ดี

  21. บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี วิสัยทัศน์ พันธกิจ การใช้พลังงาน(10) บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (3.4) CSR ลูกค้า ป้องกัน/ปราบปรามทุจริต(6) มีส่วนร่วม รวดเร็ว มีคุณภาพ มีส่วนร่วม(ตรวจสอบ) กระบวนงาน เน้นผลสัมฤทธิ์ บริหารความเสี่ยง ควบคุม ภายใน (9) KM ผู้ปฏิบัติงาน ยุทธศาสตร์คุณธรรม จริยธรรม HR Scorecard

  22. มาตรการ/โครงการ แนวทางปฏิบัติ นโยบายหลัก มุ่งเน้นการปฏิบัติงานที่ปราศจากทุจริตหรือมีผลประโยชน์ทับซ้อน

  23. Corporate Social Responsibility • มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ตัวชี้วัดที่ 6) • ระดับความสำเiจในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วน • ร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบการมี • ส่วนร่วม (ตัวชี้วัดที่ 5) • ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของ • ส่วนราชการ (ตัวชี้วัดที่ 11) ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม • แผนบริหารความเสี่ยง (PMQA, SP 7) • มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ตัวชี้วัดที่ 6) • ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วน • ร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบการมีส่วนร่วม (ตัวชี้วัดที่ 5) • ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการ • ให้บริการ (ตัวชี้วัดที่ 12) • ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ (ตัวชีวัดที่ 7) ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย • แผนบริหารความเสี่ยง (PMQA, SP 7) • มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ตัวชี้วัดที่ 6) • ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วน • ร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบการมีส่วนร่วม • (ตัวชี้วัดที่ 5) • ระดับความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน (ตัวชี้วัดที่ 9) • ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (ตัวชี้วัดที่ 10) ด้าน องค์การ • แผนบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) • ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วน • ร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบการมี • ส่วนร่วม (ตัวชี้วัดที่ 5) ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน

  24. ขั้นตอนการ เตรียมการ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบจัดทำ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 2. จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ขั้นตอนการจัดทำร่าง นโยบายการกำกับดูแล องค์การที่ดี 4. กำหนดร่างนโยบายหลัก 4 ด้าน 3. ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมหลักขององค์การ 5. กำหนดแนวทางปฏิบัติภายใต้นโยบายหลัก 4 ด้าน 6. ขออนุมัติและการประกาศใช้ ขั้นตอนการนำ ไปปฏิบัติและ ประเมินผล 7. กระบวนการนำไปสู่การปฏิบัติ ขั้นตอนการจัดทำนโยบายฯ ติดตามประเมินผล ดำเนินการ/จัดกิจกรรม กำหนดมาตรการ/โครงการ สร้างความเข้าใจ สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์

  25. การวางนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีการวางนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ค่านิยมหลักขององค์การ ธรรมาภิบาล มาตรการ/ โครงการ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ประเมินผล แนวทางปฏิบัติ ด้านผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านองค์การ ด้านผู้ปฏิบัติงาน

  26. การจัดทำ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ค่านิยมหลักขององค์การ มาตรการ/ โครงการ นโยบายหลัก 4 ด้าน วิสัยทัศน์ แนวทาง ปฏิบัติ ธรรมาภิบาล พันธกิจ • สร้างกลไก/เกณฑ์/เครื่องมือ • ออกระเบียบ ข้อบังคับ • จัดทำคู่มือ /มาตรฐาน/ • แนวทางปฏิบัติ • จัดกิจกรรม/โครงการเฉพาะ • นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ ทำงานเป็นทีม วิสัยทัศน์ ? ? พันธกิจ โปร่งใส รับผิดชอบ

  27. กระบวนการนำไปสู่การปฏิบัติกระบวนการนำไปสู่การปฏิบัติ 3 4 5 2 1 สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ เสริมสร้าง ความเข้าใจ กำหนดโครงการ /มาตรการ รองรับนโยบาย ด้านต่างๆ ดำเนินการ/ จัดกิจกรรม เสริม ติดตาม ประเมินผล สื่อสารด้วยช่องทางที่หลากหลายเพื่อให้มั่นใจว่าบุคลากรในองค์กรรับทราบ กำหนดหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับนโยบายฯ จัดทำมาตรการ/โครงการรองรับนโยบายและแนวทางตามที่ประกาศไว้ ดำเนินมาตรการ/โครงการหรือจัดกิจกรรมเสริมเพื่อผลักดันนโยบาย หน่วยงานหรือผู้ที่ได้รับผิดชอบติดตาม ประเมินผลมาตรการและโครงการ

  28. หลักการกำหนดนโยบาย นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ค่านิยมหลักขององค์การ มาตรการ/ โครงการ นโยบายหลัก 4 ด้าน วิสัยทัศน์ แนวทาง ปฏิบัติ ธรรมาภิบาล พันธกิจ

  29. ตัวอย่าง ค่านิยม = ความเป็นมืออาชีพ บูรณาการ วิสัยทัศน์ ให้ความสำคัญกับการให้บริการด้วยความโปร่งใส และมีความเป็นมืออาชีพ นโยบายด้านผู้รับบริการ พันธกิจ • สร้างกลไก/เกณฑ์/เครื่องมือ • ออกระเบียบ ข้อบังคับ • จัดทำคู่มือ /มาตรฐาน/ • แนวทางปฏิบัติ • จัดกิจกรรม/โครงการเฉพาะ • นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ ธรรมาภิบาล UNDP 1. หลักนิติธรรม 2. หลักความโปร่งใส 3. หลักความมีส่วนร่วม 4. หลักความรับผิดชอบ 5. หลักประสิทธิภาพประสิทธิผล 6.หลักการตอบสนอง 7. หลักความเสมอภาค 8. หลักมุ่งเน้นฉันทามติ 9. หลักวิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์

  30. ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี • สนองนโยบายรัฐ • ปฏิบัติงานตามกรอบกฎ ระเบียบของรัฐ • เป็นกลางทางการเมือง • คุ้มค่าในเชิงการใช้จ่ายงบประมาณ • รับผิดชอบต่อการใช้เงินงบประมาณ รัฐ ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม • รับผิดชอบต่อชุมชน/สังคมที่หน่วยงานตั้งอยู่ • รับผิดชอบต่อผลกระทบจากการดำเนินงานต่อชุมชน/สังคม • มีส่วนร่วมจากคนในชุมชน หรือสังคม • ยึดถือประโยชน์ของชุมชน/สังคม • ไม่เลือกปฏิบัติ สังคม ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย สิ่งแวดล้อม • รับผิดชอบต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม • ไม่ชัดกับกฎหมาย ระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน ด้าน องค์การ

  31. ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี • บริการด้วยความทันสมัย • ตอบสนองความคาดหวังของผู้รับบริการ • บริการด้วยความโปร่งใส • ปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความเสมอภาค • ไม่เลือกปฏิบัติ • เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการกำหนดรูปแบบ • ของการบริการ • บริการด้วยความรวดเร็ว มีคุณภาพ • บริการด้วยความซื่อสัตย์ ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ผู้รับบริการ ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม • ด้วยความซื่อสัตย์ ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน • ปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความเสมอภาค • ไม่เลือกปฏิบัติ • เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม • ด้วยความโปร่งใส • ด้วยความรวดเร็ว มีคุณภาพ ด้าน องค์การ ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน

  32. ประชาชน บัตรประชาชน ตรวจสอบข้อมูล ถ่ายรูป ออกบัตร ผู้รับบริการ ฐานข้อมูล/ วัสดุทำบัตร IT/ ผู้ส่งวัสดุ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  33. ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ด้าน องค์การ ความเสี่ยง • มีระบบรองรับความเสี่ยงด้านต่างๆ เช่น ด้าน • ยุทธศาสตร์ ด้านธรรมาภิบาล ด้านเทคโนโลยี • ด้านกระบวนการ ด้านข้อมูล ด้านความปลอดภัย การกำกับดูแลที่ดี • มีเครื่องมือ กลไก แนวทาง ระบบ ที่กำกับดูแล ติดตามผลการ • ดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ • มีเครื่องมือ กลไก แนวทาง ระบบที่กำกับการทำงานของ • บุคลากรให้มีความโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม • มีระบบควบคุมด้านการเงินทีมีประสิทธิภาพ ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย การพัฒนาองค์การ • มีการสร้างบรรยากาศ /วัฒนธรรมองค์กรที่ • เอื้อต่อผลสำเร็จของงาน • มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับ • การดำเนินงานขององค์กร ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน

  34. ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน • ให้ความเสมอภาค / ไม่เลือกปฏิบัติ • ดำเนินการด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม • แสดงความรับผิดชอบต่อการบริหารงานบุคคล ความก้าวหน้าในอาชีพ • ให้ความเสมอภาค / ไม่เลือกปฏิบัติ • ดำเนินการด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม • ดำเนินการอย่างมีวิสัยทัศน์ รองรับการเปลี่ยนแปลง • รับผิดชอบต่อความคุ้มค่าของการดำเนินงาน การพัฒนาขีดความสามารถ • ให้ความเสมอภาค / ไม่เลือกปฏิบัติ • เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วม • ดำเนินการอย่างมีวิสัยทัศน์ รองรับการ • เปลี่ยนแปลง • มีอุปกรณ์ อาคารสถานที่ที่ทันสมัย • สะอาด เหมาะสมและสนับสนุนต่อการปฏิบัติงาน • ยกระดับคุณภาพชีวิต ในเรื่องต่างๆ ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ด้าน องค์การ

  35. ตัวอย่าง: กรมแสนดี • Excellent มุ่งผลสัมฤทธิ์และคุณภาพของงาน • Teamwork เน้นการทำงานเป็นทีม • Integrity ยึดมั่นในคุณธรรม ทำในสิ่งที่ถูกต้องและสังคมยอมรับ • Service mind มีจิตบริการ

  36. ตัวอย่าง: กรมแสนดี พันธกิจ: เผยแพร่และส่งเสริมความรู้และแนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาลแก่หน่วยงานภาครัฐ และสังคมทั่วไป หลักธรรมาภิบาลสากล การมีส่วนร่วม นิติธรรม ความโปร่งใส การตอบสนอง การมุ่งเน้นฉันทามติ ความเสมอภาค/ความเที่ยงธรรม ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ภาระรับผิดชอบ วิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์ ค่านิยมหลัก มุ่งผลสัมฤทธิ์และคุณภาพของงาน เน้นการทำงานเป็นทีม ยึดมั่นในคุณธรรม ทำในสิ่งที่ถูกต้องและสังคมยอมรับ มีจิตบริการ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี • มุ่งมั่นให้บริการผู้รับบริการอย่างเป็นธรรม • ส่งเสริมให้เกิดระบบธรรมา-ภิบาลในการดำเนินงาน

  37. หลักและเทคนิคการเขียนนโยบายฯหลักและเทคนิคการเขียนนโยบายฯ ข้อแนะนำ แสดงความมุ่งมั่น ครอบคลุม 4 ด้าน เข้าใจง่าย เป้าหมายชัด นำไปปฏิบัติได้จริง 42 • ใช้คำขึ้นต้นที่แสดงความมุ่งมั่น เช่น • สร้าง มุ่งมั่น ให้ความสำคัญ ส่งเสริม สนับสนุน กำหนด เร่งรัด เป็นต้น • อยู่ในวิสัยที่จะปฏิบัติได้จริง • ควรเป็นประโยคที่เข้าใจง่าย แต่มีเป้าหมายที่ชัดเจน • ครอบคลุมมุมมองทั้ง 4 ด้าน

  38. คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง กลุ่มภารกิจและกรม ระดับความสำเร็จตามพันธกิจหรือภารกิจหลักของกรม ภายนอก Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ Learning and Growth Perspective พัฒนาองค์การ ระดับความสำเร็จการปรับปรุงกระบวนงาน ประสิทธิภาพการบริหารการเบิกจ่ายงบประมาณ การประหยัดพลังงาน ภายใน การพัฒนาทุนด้านความรู้และสารสนเทศ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนาทุนด้านมนุษย์ การพัฒนากฎหมาย Strategy Map / Balanced Scorecard ความเชื่อมโยงกับเรื่องอื่นๆ ปี 2552 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม

  39. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับที่ยอมรับได้“Fundamental Level” PMQA 7 หมวด ระดับการประเมิน แนวทางการดำเนินการ “ระดับพื้นฐาน” หมายถึงกระบวนการเริ่มได้ผล • มีกระบวนการ/ระบบที่มีประสิทธิภาพและทำอย่างเป็นระบบเพื่อรองรับ กิจกรรมในหัวข้อที่ประเมิน (Approach) • กระบวนการ/ระบบ เป็นที่เข้าใจยอมรับ และเริ่มมีบทบาทสนับสนุน กระบวนการ/กิจกรรมในกิจกรรมด้านนี้ (Deployment) • องค์กรเริ่มมีการประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบของกิจกรรมด้านนี้ อาจมีการปรับปรุงให้กระบวนการ/ระบบให้ดีขึ้นบ้าง (Learning) • กระบวนการ/ระบบเกี่ยวกับกิจกรรมด้านนี้สอดรับ สนับสนุนกิจกรรมระดับ สำคัญขององค์กรที่ระบุไว้ในภารกิจ/ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ(Integration)

  40. ค่านิยมหลักขององค์การค่านิยมหลักขององค์การ ธรรมาภิบาล ภาพรวมการจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี มาตรการ/ โครงการ นโยบายหลัก วิสัยทัศน์ แนวทาง ปฏิบัติ พันธกิจ กระบวนงาน การวัดผล ปี 2552 วิเคราะห์ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับที่ยอมรับได้“Acceptable Level” หมวด 1 LD 5 Acceptable Level RM 10 PMQA 7 หมวด ระดับการประเมิน แนวทางการดำเนินการ

  41. หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ 4.1 การทบทวนผลดำเนินการ 4.2 การนำผลประเมินไปเพื่อดูการบรรลุเป้าหมาย และ เพื่อประเมินการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (5)5 what ตัวชี้วัดสำคัญ 5.1ตัวชี้วัด 5.2ผลการทบทวนที่ผ่านมา (6) การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร 7.1 ประเมินผู้บริหาร 3ระดับชั้นบังคับบัญชา 7.2 การนำผลประเมินไปปรับระบบการนำองค์กร (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบ ต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (9)9what การจัดการผลกระทบ 9.1กระบวนการ 9.2เป้าประสงค์ 9.3ตัวชี้วัด 9.4(ค่า)เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ 10.1 การคาดการณ์ผลกระทบทางลบ (ประเมิน) 10.2 การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ (ป้องกัน) (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม (ปฏิบัติต่อคนภายนอก) • (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ • การเลือกชุมชน • การเลือกกิจกรรมสนับสนุนชุมชน • การมีส่วนร่วมของบุคลากร (1)1 ทิศทาง 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 เป้าประสงค์ระยะสั้น/ยาว 1.3 ค่านิยม 1.4 ผลดำเนินงานที่ คาดหวัง (1) 3 การสื่อสารทิศทางองค์กร (2)2 นโยบาย 2.1 กระจายอำนาจ 2.2 นวัตกรรม 2.3 ความคล่องตัว 2.4 การเรียนรู้ขององค์กร 2.5 การเรียนรู้ของบุคคล 2.6 การทำถูกกฏหมาย 2.7 ทำตามหลักจริยธรรม (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี 3.1 ด้านการปฏิบัติงาน 3.2 ด้านการเงินป้องกันทุจริต 3.3 ด้านปกป้องประโยชน์ประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย LD 1 LD 5,6 LD 5,6 LD 4 LD 1 LD 2 LD 6 LD 3 LD 7

  42. LD 5 : ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของส่วนราชการ และเพื่อให้การดำเนินการบรรลุผล ส่วนราชการต้องจัดทำแนวทางปฏิบัติ มาตรการ/โครงการรองรับนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีดังกล่าว • A= Approach • มีแนวทาง/วิธีการในการจัดทำนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีโดยอาจจัดทำเป็นแผนภาพ • (Flow Chart) ของกระบวนการ • • แนวทาง/ช่องทางในการสื่อสารนโยบายในการกำกับดูแลองค์การ • • ระบุผู้รับผิดชอบในการดำเนินการที่ชัดเจน D= Deployment แผนดำเนินโครงการและผลการดำเนินโครงการรองรับนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดีอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ L ผลการติดตามประเมินผลการดำเนินการตามแนวทางนโยบายการกำกับองค์การที่ดี เพื่อนำผลไปปรับปรุงนโยบายและแนวทางการดำเนินดังกล่าว I นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี สอดคล้องเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมขององค์การ

More Related