540 likes | 708 Views
งานพัสดุ ศรีอุไร โพธิ เจริญ นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจ้างภาครัฐ 0 2298 6300-4. The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม.
E N D
งานพัสดุ ศรีอุไร โพธิเจริญ นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจ้างภาครัฐ0 2298 6300-4 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535และที่แก้ไขเพิ่มเติม สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจ้างภาครัฐ0 2298 6300-4 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การใช้บังคับตามระเบียบฯการใช้บังคับตามระเบียบฯ
หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายหลักการจำแนกประเภทรายจ่าย 5. งบรายจ่ายอื่น 1. งบบุคลากร 3. งบลงทุน 4. งบเงินอุดหนุน 2. งบดำเนินงาน
ค่าวัสดุ • รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพเมื่อใช้แล้วย่อม สิ้นเปลืองหมดไปแปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม หรือสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น
รายการ เป็น ที่ 1. โต๊ะ-เก้าอี้นักเรียน วัสดุ 2. หมึกคอมพิวเตอร์ราคา 5,200 บาท/อัน วัสดุ 3. ตู้ 4 ลิ้นชัก ราคา 4,500 บาท วัสดุ 4. อัพเกรดเครื่องคอมพิวเตอร์ ครุภัณฑ์ 5. โต๊ะ-เก้าอี้ครู (5,500 บาท) ครุภัณฑ์
รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท • รายจ่ายเพื่อประกอบดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้างที่มีวงเงินไม่เกิน 50,000 บาท • รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท • รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ
ค่าใช้สอย ค่าปักเสาพาดสายภายนอกสถานที่ราชการรวมถึงค่าติดตั้งหม้อแปลง เครื่องวัด และอุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของการไฟฟ้า ค่าจ้างเหมาเดินสายไฟฟ้าและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มเติม รวมถึงการซ่อมแซม บำรุงรักษาหรือปรับปรุงระบบไฟฟ้า การเพิ่มกำลังไฟฟ้า การขยายเขตไฟฟ้า
ค่าวางท่อประปาภายนอกสถานที่ราชการเพื่อให้ราชการได้ใช้บริการประปา รวมถึงค่าติดตั้งมาตรวัดน้ำและอุปกรณ์ประปา ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของการประปา ค่าจ้างเหมาเดินท่อประปาและติดตั้งอุปกรณ์ประปาเพิ่มเติม รวมถึงการซ่อมแซม บำรุงรักษาหรือปรับปรุงระบบประปา
ค่าติดตั้งโทรศัพท์พื้นฐานค่าติดตั้งโทรศัพท์พื้นฐาน ค่าเช่าทรัพย์สิน รวมถึงเงินที่ต้องจ่ายพร้อมกับการเช่าทรัพย์สิน เช่น ค่าเช่ารถยนต์ อาคารสิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน ยกเว้นค่าเช่าบ้านและเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าเบี้ยประกัน ค่าจ้างเหมาบริการ แต่มิใช่เป็นการประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน เพื่อให้ใช้งานได้ตามปกติ
ค่าครุภัณฑ์ • รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น 2. รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 20,000 บาท 3. รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ รวมทั้งครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่มีวงเงิน เกินกว่า 5,000 บาท
4. รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะเป็นต้น ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบำรุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง 5. รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหารือปรับปรุงครุภัณฑ์
ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้างรวมถึงสิ่งต่าง ๆ ซึ่งติดตรึงกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้างเช่น อาคาร บ้านพัก สนามเด็กเล่น สนามกีฬา สนามบิน สระว่ายน้ำ สะพาน ถนน รั้ว บ่อน้ำ อ่างเก็บน้ำ เขื่อน เป็นต้น รวมถึงรายจ่ายดังต่อไปนี้ • ค่าติดตั้งระบบไฟฟ้า หรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการติดตั้งครั้งแรกในอาคารหรือสถานที่ราชการ ทั้งที่เป็นการดำเนินการพร้อมการก่อสร้างอาคารหรือภายหลังการก่อสร้างอาคาร
รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ที่มีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท เช่น ค่าจัดสวน ค่าถมดิน เป็นต้น 3. รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้แก่เอกชน หรือนิติบุคคล 4. รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง 5. รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน เป็นต้น
สรุป ครุภัณฑ์ คงทนถาวร + เกิน 5,000 บาท 5,000 บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม คงทนถาวร + ไม่เกิน 5,000 บาท วัสดุ
สรุป ครุภัณฑ์ คงทนถาวร + เกิน 5,000 บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม 5,000 บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม คงทนถาวร + ไม่เกิน 5,000 บาท วัสดุ
ปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง งบลงทุน 50,000 บาท งบดำเนินงาน
งบดำเนินงาน งบดำเนินงาน บาท ซ่อมแซม ซ่อมแซม บาท งบดำเนินงาน
การจัดหา ตกลงราคา ประกวดราคา วิธีกรณีพิเศษ สอบราคา วิธีพิเศษ ประมูลด้วย ระบบ อิเล็กทรอนิกส์
คำสั่งมอบอำนาจ 22/2546 สั่ง ณ วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 มอบอำนาจเกี่ยวกับการดำเนินการจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้าง ที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช่า การควบคุม การจำหน่ายและการดำเนินการอื่น ๆ ที่กำหนดในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ ของ สนง.เขตพื้นที่การศึกษาหรือสถานศึกษาแล้วแต่กรณี ให้ ผอ.สนง.เขตพื้นที่การศึกษา และผู้อำนวยการสถานศึกษาปฏิบัติราชการแทนเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเต็มวงเงินที่เป็นอำนาจของ หน.ส่วนราชการ
หลักการจัดหาพัสดุ - ความคุ้มค่า (Value for Money) - ความโปร่งใส (Transparency) • ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and • Effectiveness) - ความรับผิดชอบต่อผลสำเร็จของงาน (Accountability)
วิธีการจะได้มา • การจัดซื้อ/จัดจ้าง (Procurement) • การเช่า (Renting) • การยืม (Borrowing) • การนำกลับมาใช้ใหม่ ( Reuse, Recycle) • การแลกเปลี่ยน (Barter or Exchange) • การบริจาค (Favorableness) • อื่นๆ (Others)
คุณสมบัติของแหล่งขาย/รับจ้างที่ดีคุณสมบัติของแหล่งขาย/รับจ้างที่ดี • มีความซื่อสัตย์ สุจริต และยุติธรรม • มีความสามารถในการทำงานหรือให้ความร่วมมือกับ ผู้ซื้อ/ผู้ว่าจ้างได้เป็นอย่างดี • มีการกำหนดราคาอย่างยุติธรรม • มีกำลังผลิตหรือความสามารถในการจัดหาวัสดุมาสนองความต้องการของผู้ซื้อได้อย่างเพียงพอและทันเวลา • มีฐานะการเงินที่ดี • มีนโยบายและทัศนคติที่จะพัฒนาคุณภาพให้มีความก้าวหน้าอยู่เสมอ
เป้าหมายการจัดซื้อ-จัดจ้างเป้าหมายการจัดซื้อ-จัดจ้าง จัดหาพัสดุให้มีผลดีต่อสถานศึกษามากที่สุด มีการวางแผนจัดหาพัสดุล่วงหน้าที่ดี สถานศึกษาต้องไม่เอาเปรียบผู้ค้า ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน แก่ผู้ค้า ให้โอกาสอย่างเท่าเทียมกัน รับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะใด ๆ ที่ผู้ค้าร้องเรียนหรือแนะนำเพื่อ ปรับปรุงแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น รักษาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้รับจากผู้เสนอราคาแต่ละรายเป็นความลับ ไม่ เปิดเผยให้รายอื่นทราบ
รักษาความสัมพันธ์กับผู้ค้า ในเชิงธุรกิจด้วยความเสมอภาค • การเสนอราคา และเจรจาต่อรองอย่างเป็นธรรม • ปฏิบัติงานโดยยึดถือระเบียบ ข้อกำหนด วิธีปฏิบัติ และคำสั่ง อย่างเคร่งครัด • สนับสนุนให้มีการจัดหาพัสดุและบริการจากผู้ประกอบการที่ เป็นคนไทย • ผู้บริหารต้องมีการควบคุม ตรวจสอบ ดูแลให้มีการ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด
เป้าหมายในการจัดซื้อ 1. คุณภาพที่ถูกต้อง (Right Quality) 2. ปริมาณที่ถูกต้อง (Right Quantity) 3. ณ เวลาที่ถูกต้อง (Right Time) 4. จากแหล่งขายที่ถูกต้อง (Right Source) 5. ในราคาที่ถูกต้อง (Right Pricey) 6. กฎระเบียบที่ถูกต้อง (Right Regulation)
การเตรียมการจัดหาพัสดุการเตรียมการจัดหาพัสดุ ด้านการเงิน • ตรวจสอบวงเงินจัดซื้อ จัดจ้างให้เป็นไปตามแผนงาน • โครงการ รายการงบประมาณ - กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ อนุญาตให้จ่ายได้
ด้านพัสดุ - วางแผนการจัดหา - พิจารณาประเภทพัสดุที่ต้องการจัดหา - กำหนดรูปแบบรายการ รายละเอียดคุณลักษณะของพัสดุที่จะ จัดหา หรือขอบเขตรายละเอียดการดำเนินงาน ประเภทพัสดุ - วัสดุ - ครุภัณฑ์ - ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
การกำหนด Spec.ในการจัดซื้อ ๑. ต้องสอดคล้องกับระเบียบพัสดุ ฯ ข้อ ๑๖ • เปิดโอกาสให้ผู้เสนอราคาได้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรมและสามารถเข้าร่วมแข่งขันกันได้มากราย • ใช้ความละเอียดรอบคอบ ไม่กำหนดที่เป็นผลให้กัดกันผู้เสนอราคารายใดรายหนึ่งหรือเข้าข้างผู้เสนอราคารายใดรายหนึ่ง กรณีมีคุณลักษณะเฉพาะในบัญชีราคามาตรฐานให้ใช้ตามบัญชีราคามาตรฐาน หรือหาก สพฐ.มี Spec.ให้ใช้ของ สพฐ.
จนท.พัสดุ/หน.จนท.พัสดุ 1. ตำแหน่ง 2. แต่งตั้ง
คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน 1. ความซื่อสัตย์ 2. ความรับผิดชอบ 3. ความคิดริเริ่ม 4. ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น 5. ความสามารถในเชิงวิเคราะห์ 6. ความยืดหยุ่น
จนท.พัสดุ เจ้าหน้าที่ซึ่งดำรงตำแหน่งที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัสดุ หรือผู้ได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้มีหน้าที่ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัสดุตามระเบียบนี้ หน.จนท.พัสดุ หัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือที่มีฐานะเทียบกองซึ่งปฏิบัติงานในสายงานที่เกี่ยวกับการพัสดุตามที่องค์กร กลางบริหารงานบุคคลกำหนดหรือข้าราชการอื่นซึ่งได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
หน้าที่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุหน้าที่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ 1. จัดซื้อหรือจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา (39) 2. รวบรวมความเห็นของคณะกรรมการ - เปิดซองสอบราคา 42 (5) - พิจารณาผลการประกวดราคา 50 (3) - จัดซื้อหรือจ้างโดยวิธีพิเศษ (57) (58) เสนอหัวหน้าส่วนราชการ/ผู้รับมอบอำนาจ
4. รับผิดชอบควบคุมดูแล และจัดทำหลักฐาน การเผยแพร่ ในการปิดประกาศประกวดราคา ภายในระยะเวลาที่กำหนด ตามข้อ 45 5. จัดซื้อหรือจัดจ้างวิธีกรณีพิเศษ (59) ครั้งหนึ่ง ไม่เกิน 100,000 บาท 6. ดูแลบำรุงรักษาและตรวจสอบความชำรุด บกพร่องภายในกำหนดเวลารับประกัน 3. เก็บรักษาซองในการสอบราคา ตามข้อ 41
1. ทำรายงานขอซื้อขอจ้าง (27) และดำเนินการ ตามวิธีซื้อ หรือวิธีจ้าง (29) 2. ต่อรองและตกลงราคากับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง วิธีตกลงราคา (39) 3. ปิดประกาศ ส่งประกาศสอบราคาไปร้านค้า (41) จัดทำเอกสารสอบราคา (40) หน้าที่ของเจ้าหน้าที่พัสดุ
- จัดเตรียมตู้ที่มีกุญแจ ปิดตลอดเวลา 4. จัดทำเอกสารประกวดราคา (44) 5. การประกวดราคา - จัดเตรียมเอกสารส่งมอบให้ ผู้นำส่งไปประกาศทางวิทยุ ส่วนราชการ (45)
6. รับซองใบเสนอราคาในการซื้อหรือการจ้าง โดยวิธีสอบราคากรณียื่นซองโดยตรง (41) 7. เตรียมการเกี่ยวกับการให้หรือ ขายแบบตาม (46)
8. รับใบตรวจรับพัสดุ หรืองานจ้างจากคณะกรรมการ ตรวจรับ และดำเนินการเบิกเงิน ให้ผู้ขายหรือ ผู้รับจ้าง (71, 72) 9. จัดทำรายงานเสนอความเห็นในการแลกเปลี่ยน พัสดุ (124) และทำรายงานการเช่าตามข้อ 130 10. ลงบัญชี หรือทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุ ที่ได้ รับมอบ เรียบร้อยแล้ว (152)
12. ลงจ่ายพัสดุที่ได้จำหน่ายแล้วออกจากบัญชี หรือทะเบียน (160) 11. เสนอรายงานเกี่ยวกับการจำหน่ายพัสดุ (157)
กระบวนการบริหารงานวัสดุกระบวนการบริหารงานวัสดุ กำหนดความต้องการ งบประมาณ การจัดหา จัดหาพัสดุ เบิกจ่ายเงิน ควบคุมพัสดุ จำหน่ายพัสดุ
กระบวนการจัดหาพัสดุ ประเภทของการจัดหา การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การเช่า การแลกเปลี่ยน
วิธีการจัดหา การจัดซื้อหรือจ้าง • วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท • วิธีสอบราคา เกิน100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท • วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข • วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข • วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) • ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49
วิธีการซื้อ/จ้าง (6 วิธี) - วิธีตกลงราคา ครั้งหนึ่งไม่เกิน 100,000บาท - วิธีสอบราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท - วิธีประกวดราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 2,000,000 บาทขึ้นไป 1. กรณีใช้วงเงินเป็นตัวกำหนดวิธีการ
2.1 ซื้อโดยวิธีพิเศษ - วงเงินเกินกว่า 100,000 บาท -เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อ 23 2.2 จ้างโดยวิธีพิเศษ - วงเงินเกินกว่า 100,000บาท -เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อ 24 2. กรณีใช้วงเงินและเงื่อนไขเป็นตัวกำหนดวิธีการ
- วิธีกรณีพิเศษ(ได้แก่ การซื้อ/จ้างจากส่วนราชการ, รัฐวิสาหกิจ , หน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น) เงื่อนไข : 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติหลักการแล้ว 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ/จ้าง 3. กรณีใช้เงื่อนไขเป็นตัวกำหนดวิธีการ 4. อื่น ๆ - การจัดซื้อ/จ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49)
ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้างขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง ขอความเห็นชอบ ดำเนินการ ขออนุมัติ การทำสัญญา การตรวจรับ
การทำรายงานความเห็นชอบการทำรายงานความเห็นชอบ เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ
รายงานขอซื้อ – จ้าง (ข้อ 27) **ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงาน ** ข้อยกเว้น*** ข้อ 39 วรรคสอง ไม่ต้องมีรายงาน ตามระเบียบฯ ข้อ 27 *** หลักการ
รายละเอียดของรายงาน - เหตุผลความจำเป็น - รายละเอียดของพัสดุ - ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี - วงเงินที่จะซื้อ/จ้าง - กำหนดเวลาที่ต้องใช้ - วิธีจะซื้อ/จ้าง • - ข้อเสนออื่นๆ * การแต่งตั้งคณะกรรมการ * การออกประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา