1 / 98

The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจ้างภาครัฐ 0 2298 6300-4. The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง. การใช้บังคับตามระเบียบฯ. กำหนดความต้องการ. งบประมาณ. เบิกจ่ายเงิน. การจัดทำ. จัดหาพัสดุ.

zeno
Download Presentation

The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535และที่แก้ไขเพิ่มเติม สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจ้างภาครัฐ0 2298 6300-4 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

  2. การใช้บังคับตามระเบียบฯการใช้บังคับตามระเบียบฯ

  3. กำหนดความต้องการ งบประมาณ เบิกจ่ายเงิน การจัดทำ จัดหาพัสดุ ควบคุมพัสดุ จำหน่ายพัสดุ กระบวนการบริหารงานพัสดุ

  4. กระบวนการจัดหาพัสดุ ประเภทของการจัดหา การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การเช่า การแลกเปลี่ยน

  5. ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ เจ้าหน้าที่พัสดุ - โดยตำแหน่ง - โดยแต่งตั้ง(ข้าราชการ, ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว) หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ -โดยตำแหน่ง - โดยแต่งตั้ง (ข้าราชการ) หัวหน้าส่วนราชการ - อธิบดี (ส่วนกลาง) - ผู้ว่าราชการจังหวัด (ภูมิภาค) ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ-จ้าง - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด คณะกรรมการต่าง ๆ /ผู้ควบคุมงาน

  6. คณะกรรมการในการซื้อ/จ้างคณะกรรมการในการซื้อ/จ้าง 4 คกก. เปิดซองสอบราคา 4 คกก. รับและเปิดซองประกวดราคา 4 คกก. พิจารณาผลการประกวดราคา 4 คกก. จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ 4 คกก. จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ 4 คกก. ตรวจรับพัสดุ 4 คกก. ตรวจการจ้าง+ผู้ควบคุมงาน

  7. องค์ประกอบของคณะกรรมการองค์ประกอบของคณะกรรมการ - ประธาน 1 คน - กรรมการอย่างน้อย 2 คน - แต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป **การแต่งตั้งคณะกรรมการจะต้องแต่งตั้งเป็นครั้งๆ ไป** (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ)

  8. ข้อห้าม • แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซอง ประกวดราคา เป็น กรรมการพิจารณาผล • การประกวดราคา • แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคาหรือพิจารณาผล • การประกวดราคา เป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ

  9. องค์ประกอบของคณะกรรมการต้องเป็นข้าราชการเท่านั้นหรือไม่องค์ประกอบของคณะกรรมการต้องเป็นข้าราชการเท่านั้นหรือไม่ หลักการ ประธาน/กรรมการ ต้องเป็นข้าราชการ ผู้ตรวจรับ ข้าราชการ/ลูกจ้าง กวพ. ยกเว้นให้ดังนี้(กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว ๑๕๕ ลว. ๑ พ.ค. ๕๐) กรณีมหาวิทยาลัย ให้พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นกรรมการหรือผู้ตรวจรับพัสดุ/งานจ้างได้ กรณีส่วนราชการอื่น ให้พนักงานราชการเป็นผู้ตรวจรับพัสดุ/งานจ้างได้

  10. การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ - ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง และประธานจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง องค์ประชุม - ถือเสียงข้างมาก - ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียง เพิ่มอีก 1 เสียง มติกรรมการ ยกเว้น - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ต้องใช้มติเอกฉันท์

  11. วิธีการจัดหา การจัดซื้อหรือจ้าง • วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท • วิธีสอบราคา เกิน100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท • วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข • วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข • วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) • ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49

  12. วิธีการซื้อ/จ้าง (6 วิธี) - วิธีตกลงราคา ครั้งหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท - วิธีสอบราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท - วิธีประกวดราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 2,000,000 บาทขึ้นไป 1. กรณีใช้วงเงินเป็นตัวกำหนดวิธีการ

  13. 2.1 ซื้อโดยวิธีพิเศษ - วงเงินเกินกว่า 100,000 บาท -เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อ 23 2.2 จ้างโดยวิธีพิเศษ - วงเงินเกินกว่า 100,000บาท -เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อ 24 2. กรณีใช้วงเงินและเงื่อนไขเป็นตัวกำหนดวิธีการ

  14. - วิธีกรณีพิเศษ(ได้แก่ การซื้อ/จ้างจากส่วนราชการ, รัฐวิสาหกิจ , หน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น) เงื่อนไข : 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติหลักการแล้ว 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ/จ้าง 3. กรณีใช้เงื่อนไขเป็นตัวกำหนดวิธีการ 4. อื่น ๆ - การจัดซื้อ/จ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49)

  15. ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้างขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง ขอความเห็นชอบ วิธีจัดซื้อจัดจ้างทั่วไป 6 วิธี - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ดำเนินการ ขออนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ การทำสัญญา - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ผู้ควบคุมงาน การตรวจรับ

  16. การทำรายงานความเห็นชอบการทำรายงานความเห็นชอบ เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ

  17. รายงานขอซื้อ – จ้าง (ข้อ 27) **ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงาน ** ข้อยกเว้น*** ข้อ 39 วรรคสอง ไม่ต้องมีรายงาน ตามระเบียบฯ ข้อ 27 *** หลักการ

  18. รายละเอียดของรายงาน - เหตุผลความจำเป็น - รายละเอียดของพัสดุ - ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี - วงเงินที่จะซื้อ/จ้าง - กำหนดเวลาที่ต้องใช้ - วิธีจะซื้อ/จ้าง • - ข้อเสนออื่นๆ * การแต่งตั้งคณะกรรมการ * การออกประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา

  19. การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา (1) จนท. พัสดุ 3 4 ติดต่อ 1 เสนอราคา รายงาน (27) 5 ใบสั่ง หน. จนท.พัสดุ ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ส่งของ/งาน 6 เห็นชอบ (29) 2 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ้าง ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับการจ้าง หน. ส่วนราชการ

  20. การดำเนินงานโดยวิธีตกลงราคา (2) • กรณีจำเป็นเร่งด่วน • ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน • ดำเนินการตามปกติไม่ทัน ข้อยกเว้น วิธีการ - เจ้าหน้าที่พัสดุ หรือ ผู้รับผิดชอบดำเนินการไปก่อน - รายงานขอความเห็นชอบหัวหน้าส่วนราชการ -ใช้รายงานเป็นหลักฐานการตรวจรับ - วงเงินไม่เกิน10,000 บาท ทำรายงานเฉพาะ รายการที่จำเป็นได้

  21. ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน หมายถึง ๑. บุคคล /นิติบุคคล เป็นผู้มีส่วนได้เสีย (ทางตรง/อ้อม) รวมคู่สมรส/บุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ ได้แก่ - มีความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร - มีความสัมพันธ์ในเชิงทุน - มีความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน ๒. เข้าเสนอราคา /เสนองาน ในคราวเดียวกัน การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน(ระเบียบข้อ ๕ ประกอบข้อ ๑๕ ตรี วรรคสอง)

  22. ความสัมพันธ์ในเชิงทุนความสัมพันธ์ในเชิงทุน หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ หุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิด ใน หจก. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก., บ.มหาชน(>25% / กวพ.กำหนด) • หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ / หจก. • ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก. บมจ.

  23. ความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร ผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจในการดำเนินงาน มีอำนาจหรือสามารถใช้อำนาจในการบริหารจัดการกิจการ บุคคลหรือนิติบุคคลอีกรายหนึ่งหรือหลายราย

  24. ความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กันความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน - ผู้จัดการ - หุ้นส่วนผู้จัดการ - กรรมการผู้จัดการ - ผู้บริหาร - ผู้มีอำนาจใน การดำเนินงาน -หุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วน สามัญ / หจก. - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ใน บจก. / บมจ.

  25. บริษัท A บริษัท B หจก. C เชิงบริหาร-นาย ก. กรรมการผู้จัดการ - นาย ก. เป็น หุ้นส่วนผู้จัดการ - นาย ข. กรรมการผู้จัดการ เชิงทุน- นาย ก. ถือหุ้น 26% - นาย ก. เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิดชอบ - นาย ก. ถือหุ้น 20% เชิงไขว้- นาย ก. ถือหุ้น 26% - นาย ก. เป็นหุ้นส่วน ผู้จัดการ EX.

  26. ข้อ 27 หัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่พัสดุ ข้อ 29 จัดทำประกาศ (ข้อ 40) - ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า10 วัน / นานาชาติไม่น้อยกว่า 45 วัน - ส่งประกาศให้ผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้าง โดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ให้มากที่สุด - ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทำการโดย เปิดเผย เผยแพร่เอกสาร การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา(1)

  27. - ผู้เสนอราคาจะต้องผนึกซองจ่าหน้าถึง ประธานกรรมการ การยื่นซอง - ยื่นซองด้วยตนเอง / ทางไปรษณีย์ (กรณีที่กำหนดไว้) - เจ้าหน้าที่รับโดยไม่เปิดซอง - ระบุวันและเวลารับซอง การรับซอง - ส่งมอบซองให้แก่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทันที - หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ การเก็บรักษาซอง การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา(2)

  28. คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42) • ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน • ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ • เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน • ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคาแล้วคัดเลือก ผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขและเสนอราคาต่ำสุด • ราคาเท่ากันหลายรายยื่นซองใหม่ • ถูกต้องรายเดียวดำเนินการต่อได้ การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา(3)

  29. การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา(4)การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา(4) กรณีเกินวงเงิน (ข้อ 43) • เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงินหรือ • สูงกว่าไม่เกิน 10 % • ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ • ถ้าไม่ได้ผลอีก ขอเพิ่มเงิน หรือยกเลิกการสอบราคา

  30. ขั้นตอนการประกวดราคา จัดทำเอกสาร ประกวดราคา (ข้อ 44) จัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง และแต่งตั้งคณะ- กรรมการ (ข้อ 27) การประกาศเผยแพร่การประกวดราคา (ข้อ 45, 46) การขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง (ข้อ 65) การพิจารณาผลการประกวดราคา (ข้อ 50) การรับและเปิดซอง (ข้อ 49) การทำสัญญา (ข้อ 132-133)

  31. ข้อ 27 หัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่พัสดุ ข้อ 29 จัดทำเอกสาร (ข้อ 44) - ทำตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด - แตกต่างหรือไม่รัดกุมส่ง สำนักงานอัยการสูงสุดตรวจ การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา (1)

  32. การประกาศข่าวการประกวดราคาการประกาศข่าวการประกวดราคา ส่งไปรษณีย์ EMS • ออกประกาศ ณ ที่ทำการ • ส่งวิทยุและหนังสือพิมพ์ • ส่งกรมประชาสัมพันธ์ • ส่งองค์การสื่อสารมวลชน • ส่งศูนย์รวมข่าวประกวดราคา • ส่ง สตง. • ในตู้ปิดประกาศมีกุญแจปิด • มีผู้ปิดและผู้ปลดประกาศ ซึ่งมิใช่ คนเดียวกัน และมีพยานรับรองด้วย การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา (2)

  33. ประกาศ ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ • ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ ให้ขาย • ห้ามมีเงื่อนไขในการให้/ขาย คำนวณราคา ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ ห้ามร่นหรือเลื่อนวันรับซอง และเปิดซองประกวดราคา วันรับซองประกวดราคา การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา (3)

  34. คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา- รับซองราคา- ตรวจหลักประกันซองร่วมกับเจ้าหน้าที่การเงิน กรณีหลักประกันซองเป็นหนังสือค้ำประกันส่ง สำเนาให้ธนาคาร- รับเอกสารตามบัญชีรายการ หากไม่ถูกต้องให้บันทึกไว้ การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา (4)

  35. คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคาคณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • - ส่งเอกสารส่วนที่ 1 ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวด ราคาเพื่อตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน • เปิดซองและอ่านแจ้งราคาโดยเปิดเผยเฉพาะที่ผ่านการ • ตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน • - ลงลายมือชื่อกำกับเอกสารทุกฉบับ • - ส่งมอบเรื่องทั้งหมดให้คณะกรรมการพิจารณา ผลการประกวดราคา การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา (5)

  36. คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา - ตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะ ยกเลิก/ ดำเนินการต่อไป - คัดเลือกสิ่งของ/งานจ้าง - ถูกต้องรายเดียว (51) - พิจารณาราคา เกณฑ์ปกติ ยกเลิก - ไม่มีผู้เสนอราคา หรือไม่ถูกต้องตาม spec (52) - เท่ากันหลายราย - สูงกว่าวงเงิน รายต่ำสุด - ประกวดราคาใหม่ ไม่ได้ผลดี ยื่นซองใหม่ อนุโลมข้อ 43 ใช้วิธีพิเศษ การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา (6)

  37. การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ (1) รายงาน ข้อ 27 หัวหน้าส่วนราชการ จนท. พัสดุ ให้ความเห็นชอบ 29 เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ 57) เจรจาตกลงราคา - จะขายทอดตลาด เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - เร่งด่วนช้าเสียหาย - ราชการลับ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - ซื้อเพิ่ม (Repeat Order) เจรจาผู้ขายรายเดิม เงื่อนไขเดิม ราคาเดิมหรือดีกว่า

  38. การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ (2) เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ 57) สั่งตรงโดยให้หน่วยงานอื่นในต่างประเทศสืบราคาให้ - ซื้อจากต่างประเทศ เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่ายมาเสนอราคาและต่อรอง - จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ - ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้างเฉพาะ เชิญเจ้าของมาตกลงราคา สืบราคาจากผู้มีอาชีพขายและผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา - ดำเนินงานโดยวิธีอื่นแล้ว ไม่ได้ผลดี

  39. รายงาน ข้อ 27 หัวหน้าส่วนราชการ จนท. พัสดุ ให้ความเห็นชอบ 29 เงื่อนไข (ข้อ 24) วงเงินเกิน 1 แสนบาท วิธีการ (ข้อ 58) - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - กรณีเป็นงานที่ต้องใช้ช่างฝีมือโดย เฉพาะหรือชำนาญโดยพิเศษ - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - กรณีเป็นงานจ้างซ่อมที่ไม่ทราบ ความเสียหาย - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - เร่งด่วนช้าเสียหาย การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ (1)

  40. เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคาเชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา ราชการลับ เจรจากับผู้รับจ้างรายเดิม ราคาต่ำกว่าหรือราคาเดิม จ้างเพิ่ม (Repeat Order) สืบราคาจากผู้มีอาชีพรับจ้างและผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา ดำเนินการโดยวิธีอื่นไม่ได้ผลดี การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ (2)

  41. การดำเนินการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ (1) จนท.พัสดุ รายงาน 27 สั่งซื้อ/จ้าง วงเงินไม่เกิน 100,000 หัวหน้า จนท.พัสดุ สั่งซื้อ/จ้าง วงเงินเกิน 100,000 หัวหน้าส่วนราชการ

  42. (ข้อ27) จนท.พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ (ข้อ29) - วงเงินเกิน 100,000 บาท หส.ราชการเป็นผู้สั่งซื้อหรือจ้าง - วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท เป็นอำนาจ หัวหน้า จนท.พัสดุ ติดต่อตกลงราคา กับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เงื่อนไข : ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจหน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติ หลักการแล้ว 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ/จ้าง การดำเนินการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ (2)

  43. สัญญา สัญญาหมายถึง การใด อันได้กระทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งเน้นโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลหรือนิติบุคคล ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ

  44. รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป (ข้อ 132) 1.1 ทำสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด ส่ง สนง.อัยการ 1.2 มีข้อความแตกต่าง เสียเปรียบ/ไม่รัดกุม สูงสุดพิจารณา 1.3 ร่างใหม่ 2. ลดรูป (ข้อ 133) ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง) 2.1 ตกลงราคา 2.2 ส่งของภายใน 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ 2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ (บางกรณี) 3. ไม่มีรูป (ข้อ 133 วรรคท้าย) 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคา กรณีเร่งด่วน ตามข้อ 39 วรรคสอง จะไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้

  45. เงื่อนไขที่สำคัญของสัญญาเงื่อนไขที่สำคัญของสัญญา 1. ข้อตกลงเรื่องรูปแบบ ปริมาณ จำนวน ราคา2. การจ่ายเงิน (งวดเงิน) 3. การจ่ายเงินล่วงหน้า (ข้อ 68) 4. หลักประกัน 5. การส่งมอบ การตรวจรับ 6. การขยายเวลา งดหรือลดค่าปรับ 7. การปรับ 8. การประกันความชำรุดบกพร่อง

  46. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา • หลัก • ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง • ข้อยกเว้น • กรณีจำเป็น ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์ • กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ

  47. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา(2)การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา(2) • อำนาจอนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา • หัวหน้าส่วนราชการ • ** หลักการแก้ไขฯ ** • การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา สามารถที่จะพิจารณาดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลยกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จตามสัญญาก็ตาม แต่อย่างช้าจะต้องดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ได้ทำการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างไว้ใช้

  48. การกำหนดค่าปรับ (1) อัตราและเงื่อนไข ** การซื้อ/จ้าง ไม่ต้องการผลสำเร็จพร้อมกัน กำหนดค่าปรับเป็นรายวัน ในอัตราตายตัวระหว่างร้อยละ 0.01-0.2 ของราคาพัสดุที่ยังไม่ได้รับมอบ ** การจ้างซึ่งต้องการผลสำเร็จของงานทั้งหมดพร้อมกัน กำหนดค่าปรับเป็นรายวันเป็นจำนวนเงินตายตัว ในอัตราร้อยละ 0.01 – 0.10 ของราคางานจ้างนั้น (ต้องไม่ต่ำกว่าวันละ 100 บาท)

  49. อัตราและเงื่อนไข ** งานก่อสร้างที่มีผลกระทบต่อการจราจร กำหนดค่าปรับเป็นรายวัน ในอัตราร้อยละ 0.25 ของราคางานจ้างนั้น หมายเหตุ การกำหนดค่าปรับข้างต้น ในอัตราหรือ เป็นจำนวนเงินเท่าใด อยู่ในดุลพินิจของ หัวหน้าส่วนราชการ การกำหนดค่าปรับ (2)

  50. การคิดค่าปรับตามสัญญาการคิดค่าปรับตามสัญญา แจ้งการปรับเมื่อครบกำหนดสัญญา/ผิดสัญญาต้อง คิดค่าปรับนับถัดจากวันครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง โดยหักจำนวนวันที่ใช้ไปในการตรวจรับออกก่อน สงวนสิทธิปรับ เมื่อส่งมอบของ/งาน ไม่ตรงตามสัญญา เงื่อนไขสัญญาของเป็นชุด ปรับทั้งชุด ของติดตั้ง/ทดลอง/ปรับตามราคาของทั้งหมด

More Related