920 likes | 4.23k Views
การ จัดทำกรอบอัตรากำลังของหน่วยบริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 2 /2557. การจัดทำกรอบอัตรากำลังของหน่วยบริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 2 /2557. นายแพทย์สุเทพ วัชรปิ ยานันทน์ 26 พฤษภาคม 2557. นพ.สุเทพ วัชรปิ ยานันทน์
E N D
การจัดทำกรอบอัตรากำลังของหน่วยบริการสาธารณสุขการจัดทำกรอบอัตรากำลังของหน่วยบริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 2 /2557 การจัดทำกรอบอัตรากำลังของหน่วยบริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 2 /2557 นายแพทย์สุเทพ วัชรปิยานันทน์ 26 พฤษภาคม 2557 นพ.สุเทพ วัชรปิยานันทน์ 26 พฤษภาคม 2557
การวิเคราะห์ภาระงานเพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลังการวิเคราะห์ภาระงานเพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลัง และจัดสรรตำแหน่งเพื่อบรรจุเป็นข้าราชการ ปี 2557 FTE 1 ..เดิม..พฤศจิกายน 2556
1. เพื่อวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายวิชาชีพและสายสนับสนุนการจัดบริการ เพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประกอบการพิจารณาจัดทำข้อเสนอการขอกำหนดตำแหน่งใหม่ในปีงบประมาณ 2557 และ 2558 2. เพื่อวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายอำนวยการและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลังในการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข
FTE : Full Time Equivalent “จำนวนพนักงานปฏิบัติงานเต็มเวลาเมื่อเทียบกับเวลามาตรฐานการทำงาน” • เวลามาตรฐาน กำหนดให้ทำงาน 7 ชั่วโมงต่อวัน จำนวน 240 วันต่อปี(หักวันหยุด) ดังนั้น1FTE มีค่าเท่ากับ 1,680 ชั่วโมงต่อปี • การคำนวณ FTEคำนวณจากภาระงาน (Workload) หารด้วยเวลามาตรฐาน การทำงาน
ภาระงาน (workload) ภาระงาน : ปริมาณงาน เช่น บริการผู้ป่วยนอก มีหน่วยนับเป็นครั้ง (Case Visit) คูณ ด้วยเวลาที่ใช้ ในการให้บริการแต่ละครั้ง เช่นพยาบาลใช้เวลาดูแลผู้ป่วยนอก 12 นาทีต่อครั้ง (0.2 ชั่วโมง) มีปริมาณงานผู้ป่วยนอก จำนวน 57,000 ครั้งต่อปี ดังนั้น ภาระงาน มีค่าเท่ากับ 57,000 x0.2 =11,400 ชั่วโมงต่อปี
FTE : Full Time Equivalent เช่นตามตัวอย่างภาระงานของพยาบาล 11,400 ชั่วโมงต่อปี ดังนั้น พยาบาลจะมี FTE เท่ากับ 11,400/1,680=6.78FTE กรอบอัตรากำลัง = 80 % ของ FTE
ตัวอย่าง การคำนวณ FTE สายแพทย์,พยาบาล กรอกข้อมูลปริมาณงานจริงของหน่วยงาน (ช่องชมพู) คำนวณปริมาณงาน Workload และ FTE ในช่องเหลืองและชมพู (%ส่วนแบ่งงาน และเวลาเฉลี่ยต่อหน่วย แตกต่างกันตามขนาด รพ.)
หน่วยนับปริมาณการให้บริการ(Unit of Services) และแหล่งข้อมูล
ตัวอย่าง การคำนวณ FTE สายทันตแพทย์ กรอกข้อมูลปริมาณงานจริงของหน่วยงาน (ช่องชมพู) คำนวณปริมาณงาน Workload และ FTE ในช่องเหลืองและชมพู (เวลาเฉลี่ยต่อหน่วย แตกต่างกันตามขนาด รพ.) ปริมาณงานด้านทันตกรรมจากสัมมะโนฯ ปี2553 การเข้าถึงบริการ 8% จึงตั้งเป้าเพิ่มการเข้าถึงบริการ เป็น 20%
หน่วยนับปริมาณการให้บริการ(Unit of Services) และแหล่งข้อมูล
หน่วยนับปริมาณการให้บริการ(Unit of Services) และแหล่งข้อมูล
การคำนวณสายบริการเฉพาะด้านการคำนวณสายบริการเฉพาะด้าน
การคำนวณสายบริการในระดับปฐมภูมิการคำนวณสายบริการในระดับปฐมภูมิ
การวิเคราะห์ภาระงานบุคลากร สายสนับสนุนในหน่วยบริการ แยกเป็น 3 กลุ่ม 1. กลุ่มภารกิจอำนวยการ 2. กลุ่มสนับสนุนบริการ 3. ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา
การวิเคราะห์อัตรากำลังภารกิจอำนวยการการวิเคราะห์อัตรากำลังภารกิจอำนวยการ 1.ฝ่ายบริหารทั่วไป รวม ห้องสมุด สารบรรณ เลขา นิติกร รปภ. ปชส.ซักฟอก ยานพาหนะ ขยะ บำบัดน้ำเสีย รักษาศพฯ ไม่รวม ทำความสะอาด และ งานสวน 2.ฝ่ายการเงินและบัญชี รวมจัดเก็บรายได้ในหอผู้ป่วย 3.ฝ่ายพัสดุและซ่อมบำรุงรักษา 4.ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ 5.ฝ่ายแผนงานและศูนย์คอมพิวเตอร์
วิธีวิเคราะห์ FTE กลุ่มภารกิจอำนวยการ 1. ตามปริมาณงาน • งานบริหารทั่วไป เช่น สารบรรณ ปชส. เลขาฯ • งานนิติกร • งานเจ้าหน้าที่ • งานการเงินและบัญชี • งานพัสดุ • งานซ่อมบำรุง • งานแผนและศูนย์คอมพิวเตอร์
2. ตามลักษณะงานเฉพาะ • รักษาความปลอดภัย (FTE /จุดตรวจหลักต่อเวร) • งานซักฟอก • (FTE / เตียง) FTE • งานจัดเก็บขยะติดเชื้อ • (FTE / น้ำหนักขยะ) • งานจัดเก็บขยะทั่วไป (FTE /จุดพักขยะ)
ผลการวิเคราะห์ กรอบอัตรากำลังภารกิจ กลุ่มอำนวยการ
กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการกรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน
กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการกรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน
A/a S/M/F
วิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาวิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา ใช้มาตรฐานของสบ.พช. แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม S M L • ขนาดใหญ่ • ดูแลนักศึกษา • 120-180 คน • ขนาดเล็ก • ดูแลนักศึกษา • 36-87 คน • ขนาดกลาง • ดูแลนักศึกษา • 90-117 คน วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของบุคลากรแต่ละระดับ L S M ขนาดใหญ่ 50 คน กรอบ = 40 ขนาดเล็ก 20 คน กรอบ = 16 ขนาดกลาง 30 คน กรอบ = 24
การวิเคราะห์ภาระงานเพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลัง2/2557การวิเคราะห์ภาระงานเพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลัง2/2557 FTE 2
สิ่งที่พัฒนาจาก FTE 1 • การมีส่วนร่วมของสายวิชาชีพ และสายสนับสนุนมากขึ้น • มีเวลาในการทำกรอบอัตรากำลัง มากขึ้น • ใช้โครงสร้างใหม่ตาม ว. 29 (31 มกราคม 2555) มาใช้ในการทำกรอบ Back Office • สายวิชาชีพแยก Production Lineชัดเจน ขึ้น
สายวิชาชีพ 1 สายสนับสนุนฯ ( Back Office ) 2 การแบ่งกลุ่มจัดทำกรอบอัตรากำลัง
1.สายวิชาชีพ ตามปริมาณงาน (Workload) • แพทย์ • ทันตแพทย์ (รวม จพ.ทันต) • เภสัชกร (รวม จพ.เภสัช) • พยาบาลวิชาชีพ • นักเทคนิคการแพทย์(รวม นักวิทย์จพ.วิทย์) • นักกายภาพบำบัด • นักรังสีการแพทย์(รังสีวินิจฉัย)(จพ.รังสี) • เจ้าพนักงานเวชสถิติ
ตาม Service Based • นักกิจกรรมบำบัด • นักรังสีการแพทย์(เวชศาสตร์นิวเคลีย) • นักรังสีการแพทย์(รังสีรักษา) • นักจิตวิทยา/นักจิตวิทยาคลินิก • นักสังคมสงเคราะห์ • นักกายอุปกรณ์/ช่างกายอุปกรณ์ • นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก • จพ.โสตทัศนศึกษา • จพ.สาธารณสุข(เวชกิจฉุกเฉิน) • นักโภชนาการ/นักกำหนดอาหาร • แพทย์แผนไทย
ตาม Population Based • นักวิชาการสาธารณสุข/จพ.สาธารณสุข(รพสต) • พยาบาล(รพสต) • แพทย์แผนไทย(รพสต) • จพ.ทันต(รพสต)
2.Back Office 1.กลุ่มภารกิจอำนวยการ 2. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาระบบบริการและสนับสนุนบริการสุขภาพ(พรส.) 3. ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา
กลุ่มภารกิจอำนวยการ • 1.ก.บริหารทั่วไป • ธุรการ + ธุรการกลุ่มงานแพทย์ • อาคารสถานที่สิ่งแวดล้อม (รปภ. /สวน /ขยะ / ความสะอาด ) • สารบรรณ • ประชาสัมพันธ์ • ซักฟอก • นิติกร • 2. ก.พัสดุและซ่อมบำรุง • 3. ก.ทรัพยากรบุคคล : รับผิดชอบงาน HRM • 4. ก.การเงิน • 5. ก.บัญชี • 6. ก.นโยบายและแผนงาน : ทำแผนยุทธศาสตร์/ปฎิบัติการ
กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาระบบบริการและสนับสนุนบริการสุขภาพ 1. กลุ่มงานยุทธศาสตร์และสารสนเทศทางการแพทย์ - ศูนย์คอมพิวเตอร์ - เวชระเบียน 2.กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรบุคคลและคุณภาพ - HRD - HA - ห้องสมุด (กรณีที่ไม่มีศูนย์แพทย์) 3. กลุ่มงานสวัสดิการสังคมและประกันสุขภาพ - สวัสดิการสังคม - ประกันสุขภาพ
วิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาวิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา ใช้มาตราฐานของสบพช. แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม S M L • ขนาดใหญ่ • ดูแลนักศึกษา • 120-180 คน • ขนาดเล็ก • ดูแลนักศึกษา • 36-87 คน • ขนาดกลาง • ดูแลนักศึกษา • 90-117 คน วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของบุคลากรแต่ละระดับ L S M ขนาดใหญ่ 50 คน กรอบ = 40 ขนาดกลาง 30 คน กรอบ = 24 ขนาดเล็ก 20 คน กรอบ = 16
วิธีการคำนวณแต่ละสายงาน : สายสนับสนุน
การวิเคราะห์ภาระงานของสายงานเภสัชกรรม28 มค.2557 ตัวอย่าง
การเก็บข้อมูล • ข้อมูลจากระบบคอมพิวเตอร์ของ รพ. (ส่วนมาก) • จำนวนใบสั่งยา/รายการในใบสั่งยา & OPD visit/จำนวน An/จำนวนวันนอน • จำนวนใบสั่งซื้อ/รายการยาในใบสั่งซื้อ & ต้นทุนการใช้ยา(บาท) • จำนวนใบรับ/รายการรับยาเข้าคลัง • จำนวนใบจ่าย/รายการจ่ายยาออกจากคลัง • ฐานข้อมูล อย(แต่ข้อมูลไม่ครบ) • จำนวนรายงานADR/DTP • ฐานข้อมูลของกลุ่มงาน/ฝ่าย (Excel /Access/program แบบบันทึก) • จำนวนครั้ง/ขนานยาที่ผลิต • จำนวนผู้ป่วย/ครั้งที่ติดตามแก้ไขปัญหาการใช้ยาใน รพ. (% จำนวนผู้ป่วย ) • จำนวนผู้ป่วย/ครั้งที่ติดตามแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่บ้าน (% จำนวนผู้ป่วย ) • จำนวนผู้ป่วย/ครั้งติดตามกำกับประเมินการใช้ยา • จำนวนครั้งตอบปัญหาด้านยา
กำหนดการจัดทำกรอบอัตรากำลัง (2/2557)
กรอบอัตรากำลัง 2/2557 เขต 1 สายสนับสนุน 12 พ.ค. 57 ลำปาง สายวิชาชีพ 26 พ.ค. 57 เชียงใหม่ เขต 5 สายสนับสนุน 16 พ.ค. 57 รพ.พระจอมเกล้า(เพชรบุรี) สายวิชาชีพ 29 พ.ค. 57 รพ.พระจอมเกล้า(เพชรบุรี) ประชุมชี้แจงพื้นที่ กลุ่มตัวอย่าง 50 รพ. กลุ่มตัวอย่าง 40 รพ. A 3 S 5 M1 3 M2 11 F1 4 F2 23 F3 1 A 4 S 6 M1 5 M2 6 F1 5 F2 13 F3 1 กระจายทุกขนาด รพ.
------------------------- • .............. • ............... ---------------------------- ----------------------------
การจัดทำกรอบอัตรากำลังของหน่วยบริการสาธารณสุขการจัดทำกรอบอัตรากำลังของหน่วยบริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 2 /2557 นพ.สุเทพ วัชรปิยานันทน์ 26 พฤษภาคม 2557