1 / 55

กาญจนา นาเนกรังสรรค์ : ผู้อำนวยการกองคลัง เยาวลักษณ์ วิริยะพงศ์ : ผู้อำนวยกองแผนงาน

การพัฒนาระบบการคำนวณค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาและการปฏิบัติงานนำข้อมูลระบบบัญชี 3 มิติ เชื่อมต่อ ( INTERFACE ) กับระบบ GFMIS. กาญจนา นาเนกรังสรรค์ : ผู้อำนวยการกองคลัง เยาวลักษณ์ วิริยะพงศ์ : ผู้อำนวยกองแผนงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

eldon
Download Presentation

กาญจนา นาเนกรังสรรค์ : ผู้อำนวยการกองคลัง เยาวลักษณ์ วิริยะพงศ์ : ผู้อำนวยกองแผนงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาระบบการคำนวณค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาและการปฏิบัติงานนำข้อมูลระบบบัญชี 3 มิติ เชื่อมต่อ (INTERFACE) กับระบบ GFMIS กาญจนา นาเนกรังสรรค์ : ผู้อำนวยการกองคลัง เยาวลักษณ์ วิริยะพงศ์ : ผู้อำนวยกองแผนงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. ความสัมพันธ์ของ Applications ต่างๆของระบบบัญชี 3 มิติ ทำการจัดสรรงบประมาณแบบ 3 มิติ OFA ระบบวิเคราะห์ทาง การเงิน CO ระบบบัญชีต้นทุน CM ระบบการจัดการเงินสด PO ระบบ จัดซื้อ/จัดจ้าง GL ระบบบัญชีแยกประเภท AR ระบบการเงินรับ Interface INV ระบบคลังพัสดุ FA ระบบสินทรัพย์ ถาวร AP ระบบการเงินจ่าย GFMIS Interface Interface

  3. เปรียบเทียบระบบงานย่อย (Module) โปรแกรม Oracle Financial Application 11 i ประกอบด้วยระบบงานย่อย (Module) ที่กองคลัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบัน โปรแกรมระบบ SAP R/3 ของ GFMIS ประกอบด้วยระบบ งานย่อย (Module)  ระบบการจัดสรรงบประมาณ SAP Strategic Enterprise Manage SEM  ระบบบริหาร/ติดตามการใช้งบประมาณ SAP R/3Fund Management FM  ระบบบัญชีแยกประเภทเกณฑ์คงค้าง SAP R/3General Ledger GL ระบบบัญชีบริหาร/บัญชีต้นทุน SAP R/3Controlling/Cost Accounting CO   ระบบบัญชีเจ้าหนี้และจ่ายเงิน SAP R/3Account Receivable/payable AP  ระบบสินทรัพย์ถาวร SAP R/3 Fixed Asset Management FA

  4. เปรียบเทียบระบบงานย่อย (Module) โปรแกรม Oracle Financial Application 11 i ประกอบด้วยระบบงานย่อย (Module) ที่กองคลัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบัน โปรแกรมระบบ SAP R/3 ของ GFMIS ประกอบด้วยระบบ งานย่อย (Module)  ระบบบริหารเงินสด SAP R/3 Cash Management CM  ระบบจัดซื้อ จัดจ้าง / บริหารพัสดุ SAP R/3Purchasing / Inventory Mgt.PO ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล SAP R/3Human Resource Management HR ระบบการจัดทำงบการเงินรวม SAP R/3Business Account Consolidation BCS   ระบบฐานข้อมูลบริหาร SAP Business Warehouse BW  การเชื่อมโยงกับระบบภายนอก External System Interfacing

  5. 1. ระบบ SAP (GFMIS Terminal) 2. ใช้ Excel Form จากระบบ Excel Loader 3. Interface ข้อมูล การบันทึกรายการในระบบ GFMIS ส่วนงานราชการที่ได้รับ GFMIS Terminal จะสามารถบันทึกรายการที่เกิดขึ้นในระบบได้ทันที ส่วนงานราชการที่มีระบบ INTRANET สามารถใช้ Excel Form และทำการ Upload เข้าระบบ GFMISTERMINAL ผ่านโปรแกรม Excel Loader ส่วนราชการที่มีระบบของตนเอง จะต้อง Generate Text File ใน Format ที่กำหนด แล้วทำการ Load ผ่าน GFMIS Terminal

  6. เปรียบเทียบขั้นตอนการทำงานเปรียบเทียบขั้นตอนการทำงาน ขั้นตอนการทำงานตาม ระบบ GFMIS หน่วยงานที่ใช้ระบบ SAP (Terminal)หรือ Excel Loader หน่วยงานที่ทำการ INTERFACE การสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย (Vender) แบบขอสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย แบบขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลหลักผู้ขาย ไม่ต้องดำเนินการ ระบบการจัดซื้อ / จ้าง (PO) แบบ บส.01 ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง แบบ บส.02 ใบยกเลิกสั่งซื้อ/สั่งจ้าง กรอกรหัสข้อมูล เพิ่มในระบบ 3 มิติ ขึ้นทะเบียนสินทรัพย์รายตัวที่ซื้อ ในระบบ GFMIS ขึ้นทะเบียนสินทรัพย์รายตัว ในระบบ 3 มิติ ระบบบริหารสินทรัพย์ถาวร (FA)

  7. เปรียบเทียบขั้นตอนการทำงานเปรียบเทียบขั้นตอนการทำงาน • แบบ ขบ 01 ใบขอเบิกเงินจากใบสั่งซื้อ/จ้าง • แบบ ขบ 02 การขอเบิกเงินในงบประมาณ อื่นที่ไม่ผ่านการจัดซื้อจัดจ้าง • แบบ ขบ 03 ใบขอเบิกเงินนอกงบประมาณ • แบบ ขจ 01 จ่ายเงินโดยส่วนราชการ ระบบเบิกจ่าย (AP) ทำการ Interface การเบิกจ่ายเงินใน งบประมาณ , เงินนอกงบประมาณ ระบบรับและนำส่ง (RP) • แบบ บช 01 ใบบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืน • แบบ นส 01 จัดเก็บรายได้ (เงินรายได้ แผ่นดินเงินนอกงบประมาณ • แบบ นส 02 ใบนำส่งเงิน (นำส่งเงินรายได้ แผ่นดินนำส่งเงินนอกงบประมาณเงิน เบิกเกินส่งคืน) • แบบ บช.03 ปรับปรุงเงินฝากคลัง (เพิ่ม / ลด) ของเงินนอกงบประมาณ • แบบ บช. 04 ปรับปรุงหมวดรายจ่าย ทำการ Interface • นำส่งเงินเบิกเกินส่งคืน • นำส่งรายได้แผ่นดินและ เงินนอกงบประมาณที่ฝากคลัง

  8. เปรียบเทียบขั้นตอนการทำงานเปรียบเทียบขั้นตอนการทำงาน ระบบบัญชีแยกประเภท (GL) แบบ บช 01การจ่ายเงินโดยไม่ตั้งหนี้ ทำการ Interface ปรับปรุงทุกสิ้นเดือน ระบบงบประมาณ (BG) บันทึกใน SAP R/3 โดยตรง ไม่มีการ Interface บันทึกใน SAP R/3 โดยตรง ระบบจัดการเงินสด (CM) บันทึกใน SAP R/3 โดยตรง ไม่มีการ Interface บันทึกใน SAP R/3 โดยตรง

  9. ประเภทเอกสารที่ INTERFACE ประเภทเอกสาร ความหมาย EXCEL LOADER

  10. ประเภทเอกสารที่ INTERFACE ประเภทเอกสาร ความหมาย EXCEL LOADER

  11. ขั้นตอนการเริ่มใช้ Interface ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่2 ขั้นตอนที่3 ส่วนราชการทำหนังสือของกรม บัญชีกลาง (ส่วนราชการต้องมี ระบบของตัวเอง ระดับกรม) ส่วนราชการทำความเข้าใจ Format Interface ส่วนราชการเตรียม Interface File เพื่อทดสอบส่งให้โครงการ GFMIS และสามารถจำทำ Interface files ตาม Format ที่โครงการ GFMIS กำหนด

  12. ขั้นตอนการเริ่มใช้ Interface ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่6 ขั้นตอนที่5 ประเมินข้อ 3 ผ่าน ส่วนราชการนัดหมายส่ง File Interface จริงให้โครงการ GFMIS 2 อาทิตย์ล่วงหน้า ส่วนราชการเริ่มใช้ระบบ Interface โครงการ GFMIS เพิ่มเติมสิทธิการใช้ Interface ลงใน ID ประเภท L

  13. ขั้นตอนการเตรียมการเพื่อ INTERFACE ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 เพิ่มข้อมูลในระบบบัญชี 3 มิติ ได้แก่ • ประเภทเอกสาร • รหัสงบประมาณ • รหัสแหล่งเงิน • รหัสกิจกรรมหลัก • รหัสกิจกรรมย่อย • เลขที่เอกสารการกันเงิน • เลขที่บัญชีเงินฝากธนาคาร วิเคราะห์ข้อมูลในระบบบัญชีสามมิติ เพื่อที่จะทำการInterface เชื่อมโยงผังบัญชีของระบบบัญชี 3 มิติเข้าสู่ผังบัญชีของระบบ GFMIS

  14. ขั้นตอนการเตรียมการเพื่อ INTERFACE ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 6 • นำไฟล์ทดสอบกับโครงการ GFMIS จนผ่านทุกประเภทเอกสาร • ทำการInterface ข้อมูลจริงที่เครื่อง Terminal วางโครงสร้างและวิธีการนำข้อมูลในระบบบัญชี 3 มิติอยู่ในรูปแบบของไฟล์ INTERFACE เขียนโปรแกรม และสร้างเอกสาร INTERFACE

  15. การใช้งานโปรแกรม GFMIS INTERFACE มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่3 ขั้นตอนที่ 2 นำ Text File ที่ได้ไป Pack แล้วส่งในเครื่อง GFMIS Terminal ดูรายงานการนำส่งใน Saplog ก่อน15.00 น. คลังจังหวัดปลด Block (B) ในวันต่อมา เมื่อทำการ Create Files แล้วไฟล์ที่ได้จะอยู่ในรูปแบบของ Text File ดูใน weblog ว่าการส่งไฟล์ สำเร็จหรือไม่

  16. การใช้งานโปรแกรม GFMIS INTERFACE มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 4 เรียกรายงานสถานะ การเบิกเงิน จากโปรแกรมSAP R/3 จัดเก็บในรูปแบบ Spread sheet เมื่อจ่ายเช็คให้ซัพพลายเออร์แล้ว บันทึกเลขที่เช็คเข้าโปรแกรม GFMIS INTERFACE เพื่อชำระเงิน ในระบบ GFMIS (PM) กรมบัญชีกลางโอนเงินเข้าบัญชีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในวันรุ่งขึ้น ไฟล์ที่ได้จะนำไป Import ในโปรแกรม GFMISINTERFACE เพื่อเป็นการ Update Database

  17. การใช้งานโปรแกรม GFMIS INTERFACE มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากที่ทำการติดตั้งโปรแกรมเรียบร้อยแล้วให้ทำการคลิกที่ Icon เพื่อเข้าสู้โปรแกรม GFMIS Interface

  18. การใช้งานโปรแกรม GFMIS INTERFACE มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะปรากฏหน้าจอให้ Login เข้าสู้ระบบ ใส่ User name และ Password คลิกที่ ปุ่ม Login ถ้า รหัสผู้ใช้และรหัสผ่านของเราถูกต้อง จะปรากฏหน้าจอ

  19. การใช้งานโปรแกรม GFMIS INTERFACE มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  20. การใช้งานโปรแกรม GFMIS INTERFACE มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการใช้โปรแกรมให้เรียกใช้ในส่วนของ Tool Bar จะเป็นการเรียกหน้าจอระบบ Interface AP จะเป็นการเรียกหน้าจอระบบ การค้นหาข้อมูล จะเป็นการออกจากโปรแกรม GFMIS INTERFACE

  21. การใช้งานโปรแกรม GFMIS INTERFACE มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คลิกที่ Icon เรียกใช้งานจะปรากฏหน้าจอ

  22. การใช้งานโปรแกรม GFMIS INTERFACE มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การบันทึก ข้อมูลในโปรแกรม GFMIS INTERFACE 1 2 3 ใส่รหัสของคณะ หรือหน่วยงาน • ใส่เลขที่ใบสำคัญ การตั้งหนี้ • ใส่เลขที่เช็ค กด Enter โปรแกรมจะค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลแสดงในตารางแสดงผลโดยอัตโนมัติ * รหัสแหล่งของเงิน * รหัสงบประมาณ * รหัสกิจกรรมหลัก * จำนวนเงิน * ประเภทเอสาร

  23. การใช้งานโปรแกรม GFMIS INTERFACE มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อป้อนข้อมูลดังกล่าวแล้วจะปรากฏหน้าจอ

  24. การใช้งานโปรแกรม GFMIS INTERFACE มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อบันทึกข้อมูลประจำวันเรียบร้อยแล้วคลิกที่ปุ่ม Create Files โปรแกรมจะทำการสร้างไฟล์สำหรับ Interface เข้าสู่ระบบ GFMIS ให้ โดย จะแจ้งชื่อไฟล์ที่สร้าง

  25. ปัญหาและอุปสรรค 3 1 2 ในการ Interface ประจำวันเมื่อมีการ upload ข้อมูลไปแล้วดูรายการใน Weblog มีการยืนยันว่าได้รับข้อมูลแล้ว ในวัน ต่อมาดูข้อมูลใน Saplog แล้วไม่มีข้อมูล การติดต่อประสานงานกับ เจ้าหน้าที่ของโครงการ GFMIS ปัญหาในการ Interface แล้วไม่ผ่าน

  26. ปัญหาและอุปสรรค 4 5 6 ระยะเวลา ในการโอนเงินของธนาคาร จากสำนักงานใหญ่ ไปยังสาขาล่าช้า ธนาคารโอนเงินเข้าบัญชี ให้ไม่ถูกต้องตามรายการ ที่กรมบัญชีกลาง Run Payment การโอนเงินของกรมบัญชีกลาง มีการโอนเงินให้ไม่ ครบถ้วน

  27. ประโยชน์ของการ Interface 3 2 1 ลดภาระการทำงาน • ระบบพัสดุ • ระบบเบิกจ่าย • ระบบรับและนำส่ง ทุกหน่วยงานใน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทำงานเฉพาะในระบบบัญชี 3 มิติ เหมือนเดิมทุดอย่าง กองคลังทำโปรแกรม ดึงข้อมูลในระบบบัญชี3 มิติ upload เข้าเครื่อง Terminal

  28. ประโยชน์ของการ Interface 5 6 4 • ลดภาระติดต่อประสานงานกับคลังจังหวัด • ลดเอกสารในระบบทุกประเภท • กรมบัญชีกลางโอนเงินตรงเข้าบัญชีของมหาวิทยาลัยเชียง ใหม่ ลดข้อผิดพลาด ในการบันทึกข้อมูล เนื่องจากใช้โปรแกรม ดึงข้อมูลตรง จากระบบบัญชี 3 มิติ การตรวจสอบการขอ เบิกเงินสามารถ ตรวจสอบได้รวดเร็ว

  29. การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  30. วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต • เพื่อทราบต้นทุนผลผลิตของแผนงานตามพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย • เพื่อทราบต้นทุนการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา • เพื่อทราบต้นทุนการผลิตบัณฑิตในแต่ละหลักสูตร

  31. แนวทางการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตแนวทางการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต • ปัจจัยนำเข้าเป็นข้อมูลจากการบันทึกบัญชีเกณฑ์พึงรับ - พึงจ่าย ของคณะ/หน่วยงาน • เป็นการคำนวณต้นทุนการผลิตบัณฑิตต่อหลักสูตรตามมิติแผนงานในแบบ Output Costing • ปัจจัยนำเข้ารวมค่าใช้จ่ายทุกงบรายจ่ายตามแผนงานที่เกี่ยวข้อง รวมค่าเสื่อมราคาของครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างตามหลักการบัญชีเกณฑ์พึงรับ – พึงจ่าย • สามารถที่จะคิดต้นทุนต่อผลผลิตได้ทุกรอบระยะบัญชี

  32. แนวทางการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตแนวทางการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต • เป็นการคิดต้นทุนผลผลิตในรูปแบบของต้นทุนต่อหัวนักศึกษาจริง เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจของหน่วยงานและบุคคลทั่วไป • หลักการคำนวณทำโดยการกระจายต้นทุนทางตรงและทางอ้อมเข้าสู่กิจกรรมการเรียนการสอนของภาควิชา ทำให้ทราบต้นทุนรายวิชาทุกวิชา

  33. หลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตหลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต เป็นการคิดต้นทุนผลผลิตในแบบ Output Costing โดยมีหลักเกณฑ์วิธีการ ดังนี้ • กำหนดผลผลิตทั้งหมดของหน่วยงาน • ระบุต้นทุนรวม (Full Cost)ของหน่วยงาน • ระบุต้นทุนทางตรง และคิดวิธีการคำนวณเข้าผลผลิต • ระบุต้นทุนทางอ้อม เลือก Cost Driver ที่จะแบ่งส่วนต้นทุนเข้าผลผลิต • รวมต้นทุนทางตรง ทางอ้อม ได้ต้นทุนรวมของผลผลิต

  34. หลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตหลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ข้อกำหนดที่ 1 : กำหนดผลผลิตของมหาวิทยาลัยตามพันธกิจหลัก จำแนกผลผลิตเป็น 5 ประเภท • การผลิตบัณฑิต • การวิจัย • การบริการวิชาการแก่สังคม • การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม • การบริการสุขภาพ

  35. หลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตหลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ข้อกำหนดที่ 2 :กำหนดต้นทุนรวม (Full Cost) ของหน่วยงาน คือต้นทุนทุกอย่างที่เกิดขึ้นตามแผนงานของ มหาวิทยาลัยทุกหมวดรายจ่าย ครอบคลุมทั้ง งบประมาณแผ่นดิน และเงินนอกงบประมาณ จำแนกตามแผน 7 แผน ดังนี้ • แผนงานการเรียนการสอน • แผนงานวิจัย • แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม

  36. หลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตหลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต • แผนงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม • แผนงานสนับสนุนวิชาการ • แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย • แผนงานบริการสุขภาพ

  37. หลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตหลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ข้อกำหนดที่ 3 :จำแนกต้นทุน เป็น 3 ประเภท • ต้นทุนค่าแรง (Labor Cost) • ต้นทุนค่าวัสดุ (Material Cost) • ต้นทุนค่าลงทุน (Capital Cost)

  38. หลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตหลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ข้อกำหนดที่ 4 : กำหนดแผนงานที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนผลผลิต แผนงานการเรียนการสอน • ต้นทุนการผลิตบัณฑิต แผนงานสนับสนุนวิชาการ แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย • ต้นทุนการวิจัย • ต้นทุนการบริการ วิชาการแก่สังคม แผนงานวิจัย แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย

  39. หลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตหลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ข้อกำหนดที่ 4 : กำหนดแผนงานที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนผลผลิต • ต้นทุนการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม • ต้นทุนการบริการสุขภาพ แผนงานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย แผนงานบริการสุขภาพ แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย

  40. เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนการผลิตบัณฑิต(Criteria for Cost Allocation) การปันส่วน หรือกระจายต้นทุนไปยังกิจกรรมการเรียน การสอน จะใช้เกณฑ์ต่างๆตามลักษณะของต้นทุน โดยอาศัยตัวกระจายต้นทุนโดยตรง(Direct Allocation) และโดยดุลยพินิจ (Arbitrary Allocation) ทั้งนี้ขึ้นกับปัจจัยของการปฏิบัติที่เกิดขึ้นจริงในแต่ละขั้นตอนเป็นเกณฑ์

  41. เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนการผลิตบัณฑิต(Criteria for Cost Allocation) • จำนวนหน่วยกิตของวิชา • จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน • จำนวน Section ของวิชา • จำนวนสัดสวนค่าน้ำหนักวิชาบรรยาย และวิชาปฏิบัติการ • จำนวนสัดส่วนค่าน้ำหนักภาระงานของหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา • จำนวนสัดส่วนของงบประมาณที่จัดสรรจากแผนงานบริหารมหาวิทยาลัยสู่แผนงานหลัก

  42. ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต้นทุนรวม การผลิตบัณฑิต ต้นทุนหลักสูตร รายจ่ายจากระบบบัญชี เกณฑ์พึงรับ – พึงจ่าย ลักษณะ 3 มิติ ต้นทุนรายวิชา Arbitrary Allocation • Credit • Section • นักศึกษา • Wt. - Lect, Lab - Undergraduate, Graduate Direct Charge ต้นทุนทางตรง การเรียนการสอน ของคณะ วิชา........ ปริญญาตรี สาขา............ วิชา........ ต้นทุนทางอ้อม จากหน่วยงาน สนับสนุนกลาง ของมหาวิทยาลัย วิชา........ ปริญญาโท สาขา............ Direct Charge วิชา........ Arbitrary Allocation • สัดสวนค่าใช้จ่าย • นักศึกษา วิชา........ ปริญญาเอก สาขา............ วิชา........ ต้นทุนทางอ้อม การสนับสนุน การเรียนการสอน และการบริหารคณะ Direct Charge Arbitrary Allocation • สัดสวนค่าใช้จ่าย • นักศึกษา

  43. เปรียบเทียบการวิเคราะห์ต้นทุนแบบเดิมเปรียบเทียบการวิเคราะห์ต้นทุนแบบเดิม • เป็นการนำรายจ่ายที่บันทึกโดยบัญชีเกณฑ์เงินสด ซึ่งไม่สะท้อนค่าใช้จ่ายที่แท้จริงของหน่วยงานเป็นปัจจัยนำเข้า • อาจกำหนดเงื่อนไขที่มิได้รวมค่าใช้จ่ายทุกงบรายจ่ายในส่วนที่เกี่ยวข้อง และมิได้รวมค่าเสื่อมราคาของครุภัณฑ์สิ่งก่อสร้าง ตามหลักเกณฑ์พึงรับ - พึงจ่าย • เป็นการเก็บข้อมูลย้อนหลังจากหน่วยงานต่างๆ ดังนั้น ค่าใช้จ่ายในแต่ละงบรายจ่ายอาจจะคลาดเคลื่อนไม่สามารถตรวจสอบได้ชัดเจน และเมื่อได้ผลลัพธ์ออกมาแล้วไม่สามารถจะคิดย้อนกลับไปสู่ที่มาของต้นทุนนั้นได้

  44. เปรียบเทียบการวิเคราะห์ต้นทุนแบบเดิมเปรียบเทียบการวิเคราะห์ต้นทุนแบบเดิม • เป็นการคิดต้นทุนต่อนักศึกษาเต็มเวลา (FTES) ซึ่งสะท้อนถึง ภาระงานการจัดการเรียนการสอนของคณะนั้น แต่มิได้แสดงถึงต้นทุนค่าใช้จ่ายของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนจริง • เป็นการคิดต้นทุนที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นถึงต้นทุนรายวิชา ต้นทุนรายชั้นปีและต้นทุนต่อหลักสูตรได้

  45. ต้นทุนรายวิชา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา

  46. ต้นทุนต่อหลักสูตร สาขาวิศวกรรมโยธา

More Related