640 likes | 3.53k Views
ทุรเวช ปฏิบัติ ความขัดแย้งในระบบสาธารณสุข. นพพร โพธิรังสิยากร ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา นิติศาสตร์บัณฑิต(รามคำแหง) เนติบัณฑิตไทย นิติศาสตร์มหาบัณฑิต (จุฬาลงกรณ์) LL.M. (in International Legal Studies), American U (Fulbright Scholar)
E N D
ทุรเวชปฏิบัติความขัดแย้งในระบบสาธารณสุขทุรเวชปฏิบัติความขัดแย้งในระบบสาธารณสุข นพพร โพธิรังสิยากร ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา นิติศาสตร์บัณฑิต(รามคำแหง) เนติบัณฑิตไทย นิติศาสตร์มหาบัณฑิต (จุฬาลงกรณ์) LL.M. (in International Legal Studies), American U (Fulbright Scholar) Cert. in Leadership in the Global Commons, U of Minnesota (HH Humphrey Scholar) Cert. in Commercial Business Transaction Program, UC Berkeley Cert. in Advance Mediation, Straus Institute, Pepperdine U
Now, finally, many in this chamber, particularly on the Republican side of the aisle, have long insisted that reforming our medical malpractice lawscan help bring down the costs of health care.Now, I don't believe malpractice reform is a silver bullet, but I've talked to enough doctors to know that defensive medicine may be contributing to unnecessary costs. So -- so-- so I'm proposing that we move forward on a range of ideas about how to put patient safety first and let doctors focus on practicing medicine. I know...... I know that the Bush administration considered authorizing demonstration projects in individual states to test these ideas. I think it's a good idea, and I'm directing my secretary of health and human services to move forward on this initiative today.
Privityความสัมพันธ์ • สาเหตุ คดีความ • กฎหมายเกี่ยวกับทุรเวชปฏิบัติ • Informed consent • Standard of Care • CPG • Expert witness • Causation • ปัญหา บุคคลที่สาม • Tarasoft • ทารกในครรภ์ • การตัดสินใจแทนผู้เยาว์ • Gillick Competency • เวชระเบียน • พรบ.วิ ผู้บริโภค • ข้อสังเกต คดีอาญา • ทิศทางของกฎหมายทุรเวชปฏิบัติในอนาคต
Professional Liabilities • แพทย์ • ทนายความ • นักบัญชี มาตรฐานวิชาชีพ องค์กรวิชาชีพ การรักษาความลับลูกค้า ลูกความ คนไข้ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 323 Professional privilege
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑” ... มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “คดีผู้บริโภค” หมายความว่า (๑) คดีแพ่งระหว่างผู้บริโภคหรือผู้มีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้บริโภคตามมาตรา ๑๙ หรือตามกฎหมายอื่น กับผู้ประกอบธุรกิจซึ่งพิพาทกันเกี่ยวกับสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายอันเนื่องมาจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๐ รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ดังต่อไปนี้ ... (๒) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันนำไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้เอกชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพและการจัดบริการสาธารณสุข โดยผู้มีหน้าที่ให้บริการดังกล่าวซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานวิชาชีพและจริยธรรม ย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ ... “บริการสาธารณสุข” หมายความว่า บริการต่างๆ อันเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ การตรวจวินิจฉัยและบำบัดสภาวะความเจ็บป่วย และการฟื้นฟูสมรรถภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน “บุคลากรด้านสาธารณสุข” หมายความว่า ผู้ให้บริการสาธารณสุขที่มีกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อกำหนดรองรับ
กฏหมายที่เปลี่ยนแปลงไปกฏหมายที่เปลี่ยนแปลงไป • พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค • ไม่ใช้แบบ หนังสือ สืบหักล้างพยานเอกสารได้ • ผู้บริโภค ฟ้องวาจา โดยสมาคม ได้รับการเว้นค่าฤชา • ผู้ประกอบการฟ้องผู้บริโภคได้ที่ภูมิลำเนา • กำหนดหน้าที่นำสืบแบบ Res ipsa loquitur • ป.วิ.พ. มาตรา84/1 • การกำหนดค่าเสียหาย punitive damages • หากเจรจา อายุความสะดุดหยุดลง
เวชระเบียน • ตัวเวชระเบียน เป็นของหน่วยงาน • ข้อมูลโรค การวินิจฉัย และการรักษาเป็นของคนไข้ • ข้อมูลใดเปิดเผยได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะข้อมูล • ผู้เข้าถึงข้อมูล • การละเมิดข้อมูล
เวชระเบียน • เอกสารเวชระเบียน • ข้อมูลในเวชระเบียน • ข้อมูลทั่วไป • ข้อมูลที่ได้รับความคุ้มครอง • ความรับผิดในการละเมิดข้อมูล
เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ Thai Medical Error Network (TMEN)
ความรับผิดทางแพทย์ ตาม Common laws นิติสัมพันธ์ (Privity) Duty of care • Informed consent • Medical treatment • Standard of care • สัญญา การประกันผล • ละเมิด ต่ำกว่ามาตรฐานวิชาชีพและจริยธรรม
บ่อเกิดนิติสัมพันธ์ ระหว่างแพทย์และคนไข้ • ข้อตกลงยอมให้รักษา และรับการรักษา • ประมวลกฏหมายอาญา มาตรา 59 … กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่ กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจัก ต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง เช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่การกระทำ ให้หมายความรวมถึงการให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้น โดยงดเว้นการที่จักต้องกระทำเพื่อป้องกันผลนั้นด้วย
ความเป็นมาของ ทุรเวชปฏิบัติทางการแพทย์ ความยินยอมไม่เป็นละเมิด • Autonomy • Informed consent • Prudent patient • Hippocretic oath • Paternalism • Therapeutic privilege • Emergency
Schloendoff v. Society of New York Hospital105 NE 92 (NY 1914) Justice Benjamin Cardozo wrote in the Court's opinion: “Every human being of adult years and sound mind has a right to determine what shall be done with his own body; and a surgeon who performs an operation without his patient's consent commits an assault for which he is liable in damages. This is true except in cases of emergency where the patient is unconscious and where it is necessary to operate before consent can be obtained.” Schloendorff, however, had sued the hospital itself, not the physicians. For this reason, the Court found that a non-profit hospital could not be held liable for the actions of its employees.The Court would later reject the "Schloendorff rule" in the 1957 decision of Bing v. Thunig.
Sidaway v Board Governors of Bethlem Royal Hospital and Maudsley Hospital(1985) AC 871; (1985) 2WLR 480 Judgement: Rejecting her claim for damages, the court held that consent did not require an elaborate explanation of remote side effects.
Largey v Rothman110 NJ 204, 540 A2d. 504 (1998) Prudent patient
มาตรา ๗ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนำไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทำให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคล นั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใดๆ ผู้ใดจะอาศัยอำนาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้ มาตรา ๔๙ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือมาตรา ๙ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ความผิดตามมาตรานี้เป็นความผิดอันยอมความได้
มาตรา ๘ ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการตัดสินใจในการรับหรือไม่รับบริการใด และในกรณีที่ผู้รับบริการปฏิเสธไม่รับบริการใด จะให้บริการนั้นมิได้ ในกรณีที่เกิดความเสียหายหรืออันตรายแก่ผู้รับบริการเพราะเหตุที่ผู้รับบริการปกปิด ข้อเท็จจริงที่ตนรู้และควรบอกให้แจ้ง หรือแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ ผู้ให้บริการไม่ต้องรับผิดชอบในความเสียหายหรืออันตรายนั้น เว้นแต่เป็นกรณีที่ผู้ให้บริการประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับกรณีดังต่อไปนี้ (๑) ผู้รับบริการอยู่ในภาวะที่เสี่ยงอันตรายถึงชีวิตและมีความจำเป็นต้องให้ความช่วยเหลือเป็นการรีบด่วน (๒) ผู้รับบริการไม่อยู่ในฐานะที่จะรับทราบข้อมูลได้ และไม่อาจแจ้งให้บุคคลซึ่งเป็นทายาทโดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ผู้ปกครอง ผู้ปกครองดูแล ผู้พิทักษ์ หรือผู้อนุบาลของผู้รับบริการ แล้วแต่กรณี รับทราบข้อมูลแทนในขณะนั้นได้
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่น โดยเหตุ ที่เป็นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คนจำหน่ายยา นางผดุงครรภ์ ผู้พยาบาล นักบวช หมอความ ทนายความ หรือผู้สอบบัญชีหรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบ อาชีพนั้น แล้วเปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหาย แก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับ ของผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการ ที่น่าจะเกิดความเสียหายแต่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
Tarasoff v. Regents of the University of California, 17 Cal. 3d 425, 551 P.2d 334, 131 Cal. Rptr. 14 (Cal. 1976)
ความแตกต่างระหว่าง ผิดสัญญา กับ ละเมิด • สัญญา เป็นสัญญา (Pactasuntsurvanda) • ส่วนละเมิด คือ การกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ • อายุความ เช่น คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4643/2555
Hawkins v. McGee, 84 N.H. 114, 146 A. 641 (N.H. 1929) Hawkins (P) underwent surgery to repair scar tissue on his hand resulting from burns he sustained from contact with an electrical wire. Dr. McGee (D) gave Hawkins a 100% guarantee that he would be able to repair the scar tissue by grafting skin from his chest to his hand. The surgery was unsuccessful and Hawkins was left with a hairy hand. At trial, Hawkins sought damages for breach of contract due to McGee’s failure to perform including pain and suffering. The jury entered judgment for Hawkins but the judge ordered remittitur. Hawkins refused and brought this appeal. Issue How are damages determined for breach of contract? Holding and Rule The plaintiff was entitled to expectancy damages plus incidental losses resulting from the breach. Expectancy damages are damages sufficient to put the plaintiff in the position he would have been if the contract had been performed. Notes Hawkins could not bring tort claims against McGee because there was no provable negligence.
ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรมพ.ศ. ๒๕๒๖ หมวด ๓ การประกอบวิชาชีพเวชกรรม ข้อ ๑ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเวชกรรมในระดับดีที่สุด
Best practice Osborn v Irwin Memorial Blood Bank 7 Cal Rptr 2d 101 (Ct. App Cal 1991) Nowatske v Osteloh 198 Wis 2d. 419. 543 NW 2d. 265 (1996) Vergara v Doan 593 NF 2d. 1985 (Ind. 1992)
Nowatske v. Osterloh • A physician’s duty • Custom v. reasonable • What if the profession has lagged behind?
Vergara v. Doan • 19th century rules- rural doctors’ standard are not the same as doctors in big cities • Indiana’s modified locality rule • National standards • Under the circumstances
การวินิจฉัย คือการรักษา Hunter v Hanley 1955 SLT 213 p. 217
ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๔๙ หมวด ๔ การประกอบวิชาชีพเวชกรรม ข้อ ๑๕ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเวชกรรมในระดับดีที่สุดในสถานการณ์นั้นๆ ภายใต้ความสามารถและข้อจำกัดตามภาวะ วิสัย และพฤติการณ์ที่มีอยู่
ศาลอุทธรณ์ยก คดี'พญ.สุทธิพร' [12 ก.ย. 51] จากกรณีที่ศาลจังหวัดทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช มีคำพิพากษาให้จำคุก พญ.สุทธิพร ไกรมาก แพทย์ประจำ รพ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช เป็นเวลา 3 ปี โดยไม่ รอลงอาญา เมื่อวันที่ 26 ธ.ค.50 ในข้อหากระทำการโดยประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้นางสมควร แก้วคงจันทร์ เสียชีวิตจากการฉีดยาชาเข้าไขสันหลัง ระหว่างผ่าตัดไส้ติ่ง เมื่อปี 45 ซึ่งทาง พญ.สุทธิพร ได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ภาค 8 เป็นคดีที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ เนื่องจากเป็นคดีตัวอย่างที่อาจส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในกระทรวงสาธารณสุข ต่อมาเมื่อวันที่ 11 ก.ย. นพ.ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่า ในวันนี้ศาลอุทธรณ์ได้พิจารณายกฟ้องคดีดังกล่าวแล้ว ทำให้ พญ.สุทธิพร ไม่มีความผิด โดย พญ.สุทธิพร ให้เหตุผลในการอุทธรณ์ว่า เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลชุมชน ได้รับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข ให้ทำหน้าที่ดูแลรักษาพยาบาลประชาชน และทุกคนต่างตั้งใจปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้ป่วยหาย ไม่มีใครต้องการให้ผู้ป่วยเสียชีวิต โดยเฉพาะในโรงพยาบาลชุมชนที่อยู่ห่างไกล ซึ่งตามกฎหมายของแพทยสภา แพทย์ทุกคนสามารถดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทุกประเภท แม้ว่าจะไม่ใช่แพทย์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางก็ตาม เนื่องจากผู้ป่วยมีจำนวนมาก นพ.ปราชญ์กล่าวต่อว่า ผลการพิพากษาดังกล่าว นับเป็นขวัญกำลังใจแก่บุคลากรสาธารณสุขทั่วประเทศที่ให้การรักษาพยาบาลประชาชน และขอให้เจ้าหน้าที่ทุกคนตั้งใจทำงานเพื่อให้บริการผู้ป่วยต่อไป ซึ่งการขออุทธรณ์ครั้งนี้ เพื่อนำมาสร้างเป็นบรรทัดฐานในการปฏิบัติงานของแพทย์ในชนบทต่อไป เพราะถ้าแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนปฏิเสธการผ่าตัด เนื่องจากไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ป่วยอีกจำนวนมากก็จะประสบอันตราย เพราะระบบ สาธารณสุขของไทย ยังขาดแคลนแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ โดยเฉพาะแพทย์ดมยา และแพทย์ผ่าตัดอีกมาก
ศาลอุทธรณ์ยก คดี'พญ.สุทธิพร' [12 ก.ย. 51] (ต่อ) • ด้าน น.ส.ศิริมาศ แก้วคงจันทร์ บุตรสาวนางสมควร กล่าวว่า ยอมรับในผลการตัดสินของศาลอุทธรณ์ และจะไม่มีการยื่นฟ้องศาลฎีกาอีก ถือว่าคดีทางอาญาจบลงแล้ว ผลการตัดสินของศาลทำให้ทราบว่ามารดาเสียชีวิตจากยาชาที่ฉีดเข้าไขสันหลัง ซึ่งเป็นสิ่งที่อยากรู้มาตลอด อย่างไรก็ตาม ยังมีกระบวนการทางแพ่ง โดยเรื่องอยู่ในชั้นศาลฎีกา ซึ่งตนจะไม่ถอนฟ้อง เพราะถือว่าไม่เกี่ยวกับ พญ.สุทธิพร แล้ว แต่เป็นเรื่องของกระทรวงสาธารณสุข ที่ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายตามที่เรียกร้องเป็นเงิน 2,080,000 บาท ที่ผ่านมาศาลชั้นตัดสินให้ชนะคดีได้เงิน 6 แสนบาทพร้อมดอกเบี้ย แต่ในชั้นศาลอุทธรณ์ ศาลได้ยกฟ้อง จึงต้องรอฟังคำสั่งศาลฎีกาอีกครั้งหนึ่ง “แม้ว่าในในสมัย นพ.มงคล ณ สงขลา เป็น รมว. สาธารณสุข ได้มอบเงินช่วยเหลือให้ครอบครัวมาแล้ว 8 แสนบาท แต่ก็ไม่ถือว่าเกี่ยวกับทางคดี เพราะที่ผ่านมาไม่ได้รับการเหลียวแลจากกระทรวงสาธารณสุขเลย จนกระทั่ง นพ.มงคลลงมารับผิดชอบด้วยตนเอง การฟ้องร้องที่ผ่านมาไม่ต้องการให้หมอติดคุก หรืออยากได้เงิน หากชนะคดีทางแพ่ง จะมอบเงินส่วนหนึ่งบริจาคให้แก่ รพ.ร่อนพิบูลย์ นำไปพัฒนาปรับปรุงระบบบริการสุขภาพ และเพื่อลบคำสบประมาท ว่าอยากได้เงิน แต่จะเป็นเงินเท่าไร ขอพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง” น.ส.ศิริมาศ
แนวทางการรักษา (ClinicalPractice Guidelines) 1 the court established that the admissibility of scientific evidence required “general acceptance” in the scientific community, leading to the possible use of medical treatises under this condition of admissibility. Frye v United States, 293 F1013 (DC Cir 1923).
แนวทางการรักษา (ClinicalPractice Guidelines) 2 The trial court held for the physician based largely on guidelines created by the American College of Cardiology and American Heart Association that were introduced by the physician. The patient appealed; the appellate court affirmed the trial court. The appellate court found that the guidelines were recognized by a majority of experts as the standard of care for the profession. The court therefore concluded that CPGs were relevant and had authoritative power as substantive evidence in malpractice litigation Frakes v Cardiology Consultants, PC, 1997 Tenn App 597 (Tenn Ct App 1997).
แนวทางการรักษา (ClinicalPractice Guidelines) 3 A plaintiff was suffering from a partial blockage of her left common carotid artery underwent carotid endarterectomy and later suffered a stroke, resulting in permanent brain damage and disability. The plaintiff filed a malpractice suit, alleging that the physician had violated state informed consent law by not informing her of the availability of chelation therapy as an alternative treatment The judge based the decision in part upon numerous guidelines introduced by the physician, including those issued by the American Medical Association, American Heart Association, American Academy of Family Physicians, American College of Cardiology, and American College of Physicians, all of which concluded that chelation therapy was not recognized as an acceptable treatment for coronary or other arterial atherosclerosis. Moore v Baker, 989 F2d 1129 (11th Cir 1993).
แนวทางการรักษา (ClinicalPractice Guidelines) 4 Washington v Washington Hospital Center,, 579, 627 A 2d 177 (DC 1990). A patient sued a hospital, alleging that a physician there was negligent by failing to use a certain monitor, a Washington, DC, court upheld that the American Association of Anesthesiology's guidelines (which recommended the use of that type of monitor) were sufficient grounds for a jury to find that the physician was negligent. The court explained that “a physician will not be held responsible if in the exercise of his judgment he followed a course of treatment advocated by a considerable number of recognized and respected professionals in his given area of expertise.”
แนวทางการรักษา (ClinicalPractice Guidelines) 5 Thecourtexplainedthat “a physicianwillnotbeheldresponsibleifintheexerciseofhisjudgmenthefollowed a courseoftreatmentadvocatedby a considerablenumberofrecognizedandrespectedprofessionalsinhisgivenareaofexpertise.”
แนวทางการรักษา (ClinicalPractice Guidelines) 6 • Federal Rules for Evidence, rule 702 • the use of contracts by insurers to bind physicians and patients to guidelines as a way of establishing the standard of care in the case of a future malpractice claim • judicial notice, in which the court provides an impartial and court-appointed medical expert to establish the appropriate set of guidelines to be used as the standard of care in a case • using compliance with CPGs as an affirmative defense or safe harbor that can be used by physicians as exculpatory evidence
Expert determination ; expert witness Bolam v Frien Hospital Management Committee(Doctor knows best) The accepted practice must be regarded as proper by a responsible body of medical men Bolitho v City & Hackney Health Authority (1997) 4 All ER 771 The House of Lords held that there would have to be a logical basis for the opinion not to intubate. This would involve a weighing of risks against benefit in order to achieve a defensible conclusion. McGraw v St.Joseph’s Hospital 200 W.Va 114, 488 SE 2d.389 (1997) Held that medical expert testimony is not necessary in determining the reasonable standard of care of hospital staff in care of their patients, and a jury can decide whether a standard of care was used based upon their own experiences.
Causation Element Hotson v East Berkshire Area Health Authority (1987) 2 All ER 909 A 13 year old boy fell out of a tree. He went to hospital where his hip was examined, but a correct diagnosis was not made. After 5 days it was found that he was suffering from avascular necrosis. This was more advanced and serious than if it had been spotted straight away. By the age of 20 years, there was deformity of the hip joint, restricted mobility and permanent disability. The judge found that even if the diagnosis had made correctly, there was still a 75% risk of the plaintiff's disability developing, but that the medical staff's breach of duty had turned that risk into an inevitability, thereby denying the plaintiff a 25% chance of a good recovery. Damages included an amount of £11,500 representing 25% of the full value of the damages awardable for the plaintiff's disability. On appeal to the Lords, the question was whether the cause of the injury was the fall or the health authority's negligence in delaying treatment, since if the fall had caused the injury the negligence of the authority was irrelevant in regard to the plaintiff's disability. Because the judge had held that on the balance of probabilities, even correct diagnosis and treatment would not have prevented the disability from occurring, it followed that the plaintiff had failed on the issue of causation. It was therefore irrelevant to consider the question of damages.
Ybarra v. Spangard • Serious back and shoulder injury after patient wakes up from surgery • How does he prove? • Doctrine of res ipsa loquitur. (Byrne v. Boadle(1863),)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่า ผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น มาตรา449 บุคคลใดเมื่อกระทำการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ก็ดีกระทำตามคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายก็ดี หากก่อให้เกิดเสียหาย แก่ผู้อื่นไซร้ท่านว่าบุคคลนั้นหาต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่ผู้ต้องเสียหายอาจเรียกค่าสินไหมทดแทนจากผู้เป็นต้นเหตุให้ ต้องป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย หรือจากบุคคลผู้ให้คำสั่งโดย ละเมิดนั้นก็ได้
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 ผู้ใดจำต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อ กฎหมายและเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำพอสมควร แก่เหตุ การกระทำนั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้น ไม่มีความผิด