290 likes | 467 Views
นางตวงรัตน์ โพธิ์เที่ยง นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ทิศทางการวิจัย เกี่ยวกับโรคไข้หวัดนกในสัตว์ป่า. การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า ทิศทางการศึกษาเพื่อป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อ ไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า
E N D
นางตวงรัตน์ โพธิ์เที่ยง นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ทิศทางการวิจัยเกี่ยวกับโรคไข้หวัดนกในสัตว์ป่า
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า • ทิศทางการศึกษาเพื่อป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า • การประสานความร่วมมือกันระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนกในสัตว์ป่า • การพัฒนา ศึกษาแนวทางการทำงานร่วมกัน
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า • กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช • สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า • สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 • หน่วยงานด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่า เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า สถานีวิจัยสัตว์ป่า สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่าการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า • ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2554 • สุ่มตัวอย่าง (Cloacal Swab) Tracheal Swab เลือดและซาก จากนกธรรมชาติ • นกอพยพ นกประจำถิ่น • นกที่อยู่ในชุมชน • นกที่อยู่เป็นจำนวนมาก • ปีละ 3,000-4,000 ตัวอย่างในทุกจังหวัด • เก็บตัวอย่าง เดือนเว้นเดือน • การรายงานสถานการณ์ • การประชาสัมพันธ์ การแถลงข่าว
การเก็บตัวอย่างนกนางนวลธรรมดาการเก็บตัวอย่างนกนางนวลธรรมดา
การเก็บตัวอย่างนกนางแอ่นบ้านการเก็บตัวอย่างนกนางแอ่นบ้าน
การเก็บตัวอย่างนกชายเลนการเก็บตัวอย่างนกชายเลน
การเก็บตัวอย่างนกเป็ดน้ำการเก็บตัวอย่างนกเป็ดน้ำ
การเก็บตัวอย่างนกปากห่างการเก็บตัวอย่างนกปากห่าง
นกที่อยู่ในชุมชน นกที่อยู่เป็นจำนวนมาก
ผลการสำรวจและเก็บตัวอย่าง ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2554 • เก็บตัวอย่างจำนวน 42,795 ตัวอย่าง จากนก 113,063 ตัว 269 ชนิด • พบนกในธรรมชาติติดเชื้อ 82 ตัวอย่าง จากนก 199 ตัว คิดเป็น 0.2 %
เป็นนกประจำถิ่น 0.18 % ได้แก่ นกกระจอกบ้าน นกพิราบ นกปากห่าง นกยางควาย นกเอี้ยงสาริกา นกเอี้ยงหงอน นกเขาชวา นกกระติ๊ดขี้หมู นกกิ้งโครงคอดำ และนกกกระจอกตาล
เป็นนกอพยพ 0.02 % ได้แก่ นกเป็ดแดง นกแซงแซวหางปลา นกชายเลนน้ำจืด นกหัวโตขาดำ และนกนางนวลธรรมดา • การพบเชื้อสอดคล้องกับช่วงเวลาที่มีการระบาดของไข้หวัดนกในสัตว์ปีก
จำนวน ชนิดและตัวอย่าง ที่พบเชื้อไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ
จำนวน ชนิดและตัวอย่าง ที่พบเชื้อไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ • นกที่ติดเชื้อไข้หวัดนกร้อยละ 89.5 เป็นนกที่หากินตามพื้น และอาศัยในบริเวณเดียวกับพื้นที่ที่พบมีการระบาดของเชื้อไข้หวัดนกในไก่หลังบ้าน เป็ดไล่ทุ่ง และในฟาร์มไก่ที่เป็นฟาร์มเปิด
ท้องที่ที่พบนกธรรมชาติติดเชื้อไข้หวัดนกระหว่าง พ.ศ. 2547-2551 2547 2548 2549 2550 2551
ท้องที่ที่เคยพบมีการระบาดในสัตว์ปีก(ปศุสัตว์) ข้อมูลจากกรมปศุสัตว์ http://www.dld.go.th พื้นที่ที่เคยพบมีการระบาด ในสัตว์ปีก(ปศุสัตว์) ระหว่างปี 2547 - 2549 803 ตำบล
ข้อมูลจาการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโรคไข้หวัดนกในนกธรรมชาติข้อมูลจาการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโรคไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ • การสำรวจ และเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช • ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดลโดยการศึกษาปล่อยเชื้อไข้หวัดนก H5N1 ในนกเป็ดแดงนกปากห่าง และนกพิราบ • ร่วมกับกรมปศุสัตว์ ในการสำรวจ และเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในนกอพยพและนกประจำถิ่น • ร่วมกับคณะสัตวแพทย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตรวจสอบรหัสพันธุกรรมของเชื้อไข้หวัดนก ในช่วงที่มีการระบาดในปี พ.ศ. 2547
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ศึกษาเส้นทางอพยพของนกอพยพชนิดที่สำคัญ โดยการติดเครื่องส่งสัญญาณวิทยุระบบดาวเทียมและการติดเครื่องหมายในนกอพยพ
ทิศทางการศึกษาเพื่อป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า • การศึกษาจำนวนประชากรและการแพร่กระจายของนกที่อาศัยรวมฝูงกันเป็นจำนวนมาก
ศึกษาจำนวนประชากรและการแพร่กระจายของนกอพยพที่มีความสำคัญศึกษาจำนวนประชากรและการแพร่กระจายของนกอพยพที่มีความสำคัญ
ศึกษาวิธีการ ควบคุมประชากรของนกชนิดที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก
การประสานความร่วมมือกันระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนก • ร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ในการดำเนินโครงการ X-ray เพื่อตรวจหาเชื้อไข้หวัดนกในพื้นที่ทั่วประเทศ • มีการรายงานผลการเก็บตัวอย่างให้กรมปศุสัตว์ทราบเป็นประจำทุกเดือน • เมื่อตรวจพบเชื้อไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ จะประสานงานและแจ้งให้หน่วยงานต่างๆทราบทันที ได้แก่ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ ผู้ว่าราชการจังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด สาธารณสุขจังหวัด
ร่วมมือกับหน่วยงานในพื้นที่ ทำการฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อ เก็บซากนกที่ตายไปทำลาย สะสางทำความสะอาดพื้นที่ และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบ
การพัฒนา ศึกษาแนวทางการทำงานร่วมกัน • เนื่องจากสัตว์ป่า โดยเฉพาะนกเกือบทุกชนิดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง การดัก จับ ล่า ทำลาย กับตัวสัตว์ รัง และไข่ของสัตว์ป่า เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย ต้องกระทำโดยพนักงานเจ้าหน้าที่และเพื่อการศึกษาวิจัยทางวิชาการ • สถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานที่มีความพร้อมของห้องปฏิบัติการและบุคลากรในการตรวจพิสูจน์ไวรัสไข้หวัดนก และไวรัสชนิดอื่น ตลอดจนเรื่องของระบาดวิทยา เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนก รวมทั้งโรคอุบัติใหม่ที่มีสัตว์ป่าเป็นพาหะนำโรคหรือแหล่งรังโรค ที่จะเกิดในอนาคต
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในการร่วมกัน สำรวจประชากรนกประจำถิ่น ที่อยู่อาศัยสร้างรังเป็นกลุ่ม รวมถึงการศึกษาเพื่อควบคุมประชากร ตลอดจนพัฒนากลไกความร่วมมือให้ความรู้กับประชาชน รวมทั้งการเตือนภัย จากโรคที่มาจากสัตว์ป่า สัตว์ต่างถิ่น ให้แก่ประชาชน เพื่อการป้องกันตนเองและสัตว์เลี้ยง