650 likes | 2.31k Views
à¸à¸£à¸°à¸šà¸§à¸™à¸à¸²à¸£à¸ªà¸£à¹‰à¸²à¸‡à¸£à¸°à¸šà¸šà¸žà¸µà¹ˆà¹€à¸¥à¸µà¹‰à¸¢à¸‡. COACHING & MENTORING. Assoc. Pro.Dr . Chalong Chatruprachewin Assist . Pro.Dr . Rujroad Kaewurai. มารู้จัภCOACHING & MENTORING à¸à¸±à¸™à¹€à¸–à¸à¸°. C OACHING & M ENTORING คืà¸à¸à¸°à¹„ร. ทำไมต้à¸à¸‡ ต้à¸à¸‡à¸ªà¸£à¹‰à¸²à¸‡à¸£à¸°à¸šà¸šà¸žà¸µà¹ˆà¹€à¸¥à¸µà¹‰à¸¢à¸‡ COACHING & MENTORING.
E N D
กระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง COACHING & MENTORING Assoc. Pro.Dr. ChalongChatruprachewin Assist. Pro.Dr. RujroadKaewurai
มารู้จัก COACHING & MENTORING กันเถอะ
ทำไมต้องต้องสร้างระบบพี่เลี้ยงCOACHING & MENTORING
ทำไมต้องสร้างระบบพี่เลี้ยงCOACHING & MENTORING • 1. กระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี2. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ( L N R) 3 R อ่าน เขียน คณิต 4 C คิดวิเคราะห์ สื่อสาร ความร่วมมือ ความคิดสร้างสรรค์ 3. การจัดการศึกษาทั่วโลก เช่น- 21st- Century Learning- 21st- Century Education- 21st- Century Learners
ความเชื่อ ในการจัดการศึกษายุคในศตวรรษ.21 1. นักเรียนมีคนทุกคนมีศักยภาพในการสร้างความรู้ด้วยตนเอง 2. ความรู้และประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐานสำคัญของการสร้างความรู้ใหม่ 3. การปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันมีส่วนช่วยในการสร้างความรู้ใหม่
ความเชื่อ ในการจัดการศึกษายุคในศตวรรษ.21 4. ครูควรมีบทบาทในการจัดบริบทการเรียนรู้ตั้งคำถามที่ท้าทายความสามารถ กระตุ้นสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดการสร้างความรู้ และให้ความช่วยเหลือผู้เรียนในทุกๆด้าน
ใช่ TLLM หรือไม่ แบบไหนที่ครูชอบใช้กับนักเรียน
ดังนั้นการสอนครูต้องเปลี่ยนการสอนโดยเป็นพี่เลี้ยงมากกว่าผู้สอนดังนั้นการสอนครูต้องเปลี่ยนการสอนโดยเป็นพี่เลี้ยงมากกว่าผู้สอน COACHING & MENTORING
Coaching การสอนงาน (การสอนแนะแนวทางการเรียนรู้) Mentoring การเป็นพี่เลี้ยง
COACHING & MENTORING ในทางการศึกษา -นำมาใช้ในการนิเทศการศึกษา การนิเทศแบบพี่เลี้ยง
COACHING & MENTORING ในทางการศึกษา -นำมาใช้ในกระบวนการสอนโดย การสร้างระบบพี่เลี้ยง (สพฐ.)
coaching(การสอนแนะ) เพื่อหาแนวทางการเรียนโดยครูผู้สอนเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการใช้เทคนิคและวิธีการต่างที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนเห็นแนวทางในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ดังนั้นผู้สอนต้องวางแผนและออกแบบกิจกรรม เตรียมคำถามที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนค้นพบตนเอง(แนวทางการเรียนรู้)
COACHINGอย่างไร? ครูควรโค้ชนักเรียนแบบไหน
บทบาทของCOACH • การเป็นกระจกเงา :สะท้อนให้ผู้เรียนมองเห็นตัวเอง • การเป็นไกด์ทัวร์ :บอกเล่าเรื่องราวที่เป็นประสบการณ์ของเราให้ฟัง • การเป็นเทียนไข :คอยให้กำลังใจและให้พลังแก่เขาเพื่อก้าวข้ามอุปสรรค • การเป็นแผนที่ :กำหนดเป้าหมายและแผนงานร่วมผู้เรียน
ตัวอย่างการใช้คำถามในการCOACHINGตัวอย่างการใช้คำถามในการCOACHING ต.ย.คำถามการโค้ช ตัวอย่างคำถาม เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นตัวเองเช่น • เธอคิดอย่างไรกับหัวข้อที่ใช้ในการ Coaching ครั้งนี้ ? • เธอช่วยบอกความรู้สึกกับเรื่อง “หัวข้อ” นี้หน่อยซิ ? • เธอเคยมีประสบการณ์ในเรื่อง “หัวข้อ” นี้มากน้อยแค่ไหน ? • เธออยากจะเป็น/เก่งใน “หัวข้อ” นี้หรือไม่ ? • เธอช่วยอธิบายความหมายของ “หัวข้อ”ที่เธอเข้าใจให้ฟังหน่อย ว่าเป็นแบบไหน ? • เธอเห็นด้วยกับ “หัวข้อ” ที่เลือกนี้มากน้อยแค่ไหน
สรุปการเรียนรู้COACHING ต.ย.คำถามการโค้ช ตัวอย่างคำถาม ยืนยันในสิ่งที่ผู้เรียนเป็นอยู่ เช่น ... • เธอรู้สาเหตุที่เธอคิดแบบนี้หรือไม่? • ทำไมเธอจึงกังวลในเรื่องนี้มากจังเลย? • เธอไม่แน่ใจในตัวเองว่าจะทำได้ คิดว่าเป็นเพราะเหตุใด? • เธอเป็นแบบนี้มานานเท่าไหร่แล้ว ? • เหตุการณ์แบบไหนที่ทำให้เธอเป็นแบบนี้บ่อย? • เธอยอมรับในเรื่องนี้ได้มากน้อยแค่ไหน ?
สรุปการเรียนรู้COACHING ต.ย.คำถามการโค้ช ตัวอย่างคำถาม เพื่อ กระตุ้นให้ผู้เรียนมีทางเลือกเกิดขึ้น เช่น -เธอคิดว่ามีทางเลือกอื่นที่จะทำให้ดีขึ้นหรือไม่ ? -เธอจะแก้ไขปัญหา/อุปสรรค์ที่เจออยู่นี้ได้อย่างไร ? -เธอคิดว่า วิธีการใหม่กับวิธีการเดิมที่เคยปฏิบัติ อย่างไหนดีกว่ากัน ? -ทำไมเธอจึงคิดว่า ไม่มีวิธีการอื่นๆอีกแล้ว ลองคิดดูดีๆ ? -เธออยากจะปรับปรุงวิธีการใหม่ๆอย่างไร ?
สรุปการเรียนรู้COACHING ต.ย.คำถามการโค้ช ตัวอย่างคำถาม เพื่อให้ผู้เรียนกำหนดเป้าหมายการเปลี่ยนแปลงตัวเอง เช่น ... • เธอตัดสินใจว่าจะเปลี่ยนแปลงตัวเองเรื่องอะไรบ้าง ? • เธอสรุปว่าจะเปลี่ยนแปลงตัวเองเรื่อง .........นี้อย่างไร ? • เธอตั้งใจจะลงมือทำเมื่อไหร่ ? • เธอคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเมื่อไหร่ ? • เธอกำหนดเป้าหมายอย่างไรกับเรื่องนี้ ? • เธอเยี่ยมจริงๆ เธอช่วยสรุปเรื่องที่จะเปลี่ยนแปลงอีกทีซิ ? • ครูสรุปว่า เรามีเป้าหมายที่เธอจะเปลี่ยนแปลงตัวเองร่วมกัน ดังนี้.. ใช่ไหม ?
สรุปการเรียนรู้COACHING ต.ย.คำถามการโค้ช
COACHING • เทคนิคการฟังในการ Coaching • 1. การเป็นผู้ฟังที่ดี • 2. มีการสะท้อนในสิ่งที่ผู้เรียนพูด • 3. ฟังอย่างมีสมาธิเพื่อค้นหาสิ่งที่ซ้อนเร้น • 4. การฟังด้วยใจ
Mentoring Mentoring มาจากภาษากรีกที่แปลตรงตัวว่า enduring เป็นคำที่สื่อความหมายถึงความสัมพันธ์อันยืนนานระหว่างผู้เยาว์กับผู้ใหญ่โดยผู้ใหญ่เข้าไปมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่องในกระบวนการเรียนรู้ของผู้เยาว์ โดยการให้การสนับสนุน คำแนะนำปรึกษา ตลอดจนความช่วยเหลือต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เยาว์สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาแห่งความยากลำบาก เผชิญกับความท้าทายใหม่ ๆ และหาทางแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่ผ่านมาได้
Mentoring เกื้อวงศ์บุญสินกล่าวว่า Mentor นั้นเป็นกระบวนการ ทางสังคม(Socialization) ในลักษณะของการ แบ่งปันแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความรู้ฉันท์กัลยาณมิตร ระหว่าง ปัจเจกชนอย่างน้อย 2 คน ซึ่งใช้เวลาอยู่ด้วยกันทำกิจกรรมสร้าง ความรู้ร่วมกันอย่างใกล้ชิด โดยแต่ละฝ่ายมีความเต็มใจที่จะถ่ายทอด และรับการถ่ายทอดหรือแลกเปลี่ยนซึ่งความรู้และทักษะต่าง ๆ ซึ่งกันและกัน โดยไม่เห็นแก่ตัวหากแต่คำนึงถึงผลประโยชน์ของอีก ฝ่ายหนึ่งอย่างแท้จริง
สรุป Mentoring การเป็นพี่เลี้ยงโดยครูผู้สอนให้ความช่วยเหลือ ให้คำแนะนำ ปรึกษา ชี้แนะนอกจากนี้อาจจะมีการสนับสนุนการจัดสภาพแวดล้อม สิ่งอำนวยความสะดวก รวมทั้งสื่อต่างๆเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง(ทั้งนี้การแนะนำช่วยเหลืออาจจะเป็นผู้ที่มีประสบการณ์อื่นๆก็ได้)
การสอนโดยใช้กระบวนการ QSCCS S Learning to serve C PUBLIC SERVICE Learning to communicate C EFFECTIVE COMMUNICATION Learning to construct S Learning to search KNOWLEDGE FORMATION Q KNOWLEDGE SEARCHING Learning to question HYPOTHESIS FORMULATION COACHING & MENTORING สามารถนำไปใช้ได้ทุกกระบวนการ
COACHING & MENTORING COACHING การค้นพบ Mentoring การแนะนำ ปรึกษา ชี้แนะการสนับสนุน
รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบรูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ • ขัดแย้งกังขา • ค้นคว้าข้อมูล • เพิ่มพูนปัญญา • สัมมนามวลมิตร • เสนอความคิดกลุ่มใหญ่ • สร้างความมั่นใจร่วมกัน
รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบรูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ มนตรี แย้มกสิกร QSCCS Learn to Question Learn to Search Learn to Construct Learn to Communication Learn to Serve • ขัดแย้งกังขา • ค้นคว้าข้อมูล • เพิ่มพูนปัญญา • สัมมนามวลมิตร • เสนอความคิดกลุ่มใหญ่ • สร้างความมั่นใจร่วมกัน ยั่วยุ ขัดแย้ง กังขา สงสัย นำไปค้นคว้าข้อมูล เพิ่มพูนสร้างสรรค์ปัญญา สัมมนาสื่อสาร นำเนอ เลิศเลอรับใช้สังคม