300 likes | 657 Views
นโยบายด้านการดำเนินงานส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ของสำนักงาน พก.). ขนิษฐา กมลวัฒน์ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและวิชาการ สำนักงาน พก. ความเป็นมา. - จัดตั้งเมื่อ 28 กันยายน 2550 ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
E N D
นโยบายด้านการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ของสำนักงาน พก.)
ขนิษฐา กมลวัฒน์ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและวิชาการ สำนักงาน พก.
ความเป็นมา - จัดตั้งเมื่อ 28 กันยายน 2550 ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 - เป็นส่วนราชการใน พม. เทียบเท่ากรม แต่ไม่มีฐานะเป็นกรม (ไม่เป็นนิติ บุคคล) - มีเลขาธิการซึ่งมีฐานะเป็นอธิบดี เป็นผู้บังคับบัญชาบุคลากรของสำนักงาน ที่ตั้ง อาคาร 60 ปีกรมประชาสงเคราะห์ ภายในบ้านราชวิถี เลขที่ 255 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
อำนาจหน้าที่ • จัดทำแผนงานเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ • ประสานงานและร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศในการดำเนินงาน การทำงานร่วมกันในระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงานด้านคนพิการ เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ • สำรวจ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ประเมินผล รวบรวมและเก็บรักษาข้อมูลเกี่ยวกับคนพิการ สถานการณ์ของคุณภาพชีวิตคนพิการ เพื่อประโยชน์ต่อการป้องกัน การรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ • สนับสนุนให้มีการจัดตั้ง การดำเนินงาน การสร้างความเข้มแข็งขององค์กรด้านคนพิการ เพื่อให้สามารถทำหน้าที่พิทักษ์สิทธิคนพิการ • ปฏิบัติหน้าที่อื่นตาม พ.ร.บ.กำหนด หรือตามที่ได้รับมอบหมาย
วิสัยทัศน์ พันธกิจ 1. พัฒนาระบบการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ และการส่งเสริมศักยภาพคนพิการ 2. ส่งเสริม สนับสนุน สร้างความเข้มแข็งแก่องค์กรด้านคนพิการและเครือข่าย “เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ” ยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิคนพิการ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพคนพิการ 3. เสริมพลังองค์กรด้านคนพิการและเครือข่าย
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านคนพิการแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านคนพิการ การจัดทำฐานข้อมูลคนพิการ การจดทะเบียนคนพิการ การจัดทำดัชนีคุณภาพชีวิตคนพิการ การจัดทำฐานข้อมูลองค์กรคนพิการ ฯลฯ การออกอนุบัญญัติตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 ได้แก่ กฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านคนพิการแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านคนพิการ • การส่งเสริมและจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่คนพิการเข้าถึงได้ เพื่อมิให้สภาพแวดล้อมเป็นอุปสรรคต่อการเข้าร่วมทางสังคมสำหรับคนพิการ • การผลักดันให้มีการดำเนินการคุ้มครองสิทธิคนพิการด้านต่าง ๆ ตามที่กำหนดใน พ.ร.บ. ส่งเสริมฯ พ.ศ.2550 (มาตรา20,รธน. พ.ศ.2550 , มาตรา 54 มาตรา 80)
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านคนพิการแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านคนพิการ • การคุ้มครองทางสังคมและสวัสดิการสังคม ในความรับผิดชอบของ พม. และ พก. เช่น - การให้บริการล่ามภาษามือ - การช่วยเหลือทางกฎหมาย - การจัดให้มีผู้ช่วยคนพิการ - การปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้แก่คนพิการ - การช่วยเหลือคนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล - การส่งเสริมสนับสนุนผู้ดูแลคนพิการ และ - การจัดสวัสดิการเบี้ยความพิการ ฯลฯ
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านคนพิการแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านคนพิการ • การขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิการ (มาตรา 15 , ร.ธ.น. พ.ศ. 2550 มาตรา 30) • การส่งเสริมกลไกการดำเนินงานด้านคนพิการ ได้แก่ - คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ - คณะอนุกรรมการ (จังหวัดและอื่น ๆ) - กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - หน่วยงานของรัฐ
กลไกองค์กรคนพิการ เช่น 1. สมาคมสภาคนพิการทุกประเภทแห่งประเทศไทย 2. สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย 3. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย 4. สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย 5. สมาคมคนพิการทางสติปัญญาแห่งประเทศไทย 6. สมาคมผู้ปกครองบุคคลออทิซึม (ไทย) 7. สมาคมเพื่อผู้บกพร่องทางจิต
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านคนพิการแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านคนพิการ • การรับรองมาตรฐานองค์กรเกี่ยวกับคนพิการ • การกำหนดมาตรฐานการดำเนินงานด้านคนพิการ ฯลฯ • นอกจากนี้ รัฐมนตรีรักษาการแต่ละกระทรวงมีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อให้มีอำนาจตามมาตรา14
แนวทางการดำเนินงานด้านความพิการแนวทางการดำเนินงานด้านความพิการ • เพื่อต้องการบรรลุ • คนพิการได้รับสิทธิ • การมีส่วนร่วมของ • คนพิการ • คนพิการได้รับการ • เสริมสร้างความ • เข้มแข็งและศักยภาพ • สังคมที่ปราศจาก • อุปสรรคต่อคนพิการ • ความพิการบูรณาการ • กับการพัฒนา • กระแสหลัก • มีนโยบายชัดเจน ต่อเนื่อง มีกฎหมายรองรับ • มีวิวัฒนาการของ กระบวนทรรศน์ ที่เปลี่ยนไป การจัดการความพิการ ด้วยมิติเชิงสังคม เวทนานิยม / การจัดการความพิการ ด้วยมิติทางการแพทย์ การส่งเสริมสิทธิ ของคนพิการ
ภารกิจเร่งด่วน การเร่งรัดการออกอนุบัญญัติตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 ได้แก่ กฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ การส่งเสริมการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการของจังหวัด และการบูรณาการกับแผนพัฒนาของจังหวัด 3. การผลักดันให้เป็นนโยบายของรัฐบาล - การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกในสถานที่ราชการ - การจ้างงานคนพิการในท้องถิ่น - การผลักดันเบี้ยความพิการ
กลไกขับเคลื่อนงานด้านความพิการระดับจังหวัดกลไกขับเคลื่อนงานด้านความพิการระดับจังหวัด องค์ประกอบ - สัดส่วนของผู้แทนคนพิการเพิ่มมากขึ้น - กำหนดให้มีผู้แทนจากหน่วยงานหลักด้านคนพิการ อย่างน้อย 3หน่วยงาน - มีผู้แทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - จำนวนไม่เกิน 18 คน
บทบาทหน้าที่…. • กำหนดแผน ยุทธศาสตร์ โครงการ • ประสานการดำเนินงานกับทุกภาคส่วน • พิจารณากลั่นกรองและให้ความเห็นประกอบการกู้ยืมเงินกองทุนฯ และติดตาม • ตรวจสอบการกระทำที่มีลักษณะการเลือกปฏิบัติ • เสนอแผนงาน/โครงการให้คณะอนุกรรมการบริหารกองทุน เพื่อให้ความเห็นชอบ อนุมัติวงเงิน
ก บทบาทหน้าที่.... • เสนอแผนงาน/โครงการให้คณะอนุกรรมการบริหารกองทุน เพื่อให้ความเห็นชอบ อนุมัติวงเงิน รายการใช้จ่าย และการเบิกเงิน • ติดตามโครงการที่ได้รับการสนับสนุน • ส่งเสริมสนับสนุนความเข้มแข็งขององค์กรคนพิการ • อื่น ๆ
แผนพัฒนาคนพิการ การขับเคลื่อน แผนด้านความพิการ • ยุทธศาสตร์: • พัฒนาระบบบริหารจัดการ • ส่งเสริมความเข้มแข็งองค์กร • และเครือข่าย • เสริมสร้างเจตคติ • ปรับสภาพแวดล้อม แผนพัฒนาคุณภาพ ชีวิตคนพิการ แห่งชาติ ฉบับที่ 3 แผนปฏิบัติการระดับ โครงการ/กิจกรรม แผนพัฒนาคุณภาพ ชีวิตคนพิการ ของจังหวัด การบูรณาการมิติ ความพิการใน แผนยุทธศาสตร์ ของจังหวัด/ แผนของท้องถิ่น กิจกรรม/แผนงาน ในข้อบังคับของ อปท.
งบประมาณเพื่อการพัฒนาคนพิการงบประมาณเพื่อการพัฒนาคนพิการ • งบประมาณของจังหวัด • งบประมาณของท้องถิ่น • งบประมาณจากกระทรวง กรม • งบประมาณจากกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กองทุนสวัสดิการสังคม กองทุนที่มีอยู่ในระดับชุมชน กองทุนกีฬาฯลฯ • งบประมาณจากภาคเอกชน ภาคธุรกิจ หน่วยต่างประเทศ