250 likes | 434 Views
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8. โดย. นางสาวระวีวรรณ ยิ่งวรรณศิริ ผู้อำนวยการสำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8. สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ( ประเภทกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ ) ประจำปี 2554. กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะรุ่ย อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา.
E N D
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8 โดย นางสาวระวีวรรณ ยิ่งวรรณศิริ ผู้อำนวยการสำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8
สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ( ประเภทกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ ) ประจำปี 2554 กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะรุ่ย อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา
ประวัติกลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะรุ่ยประวัติกลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะรุ่ย จัดตั้งเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2542 สมาชิกก่อตั้ง จำนวน 19 คน สมาชิกปัจจุบัน 84 คน ที่ทำการกลุ่ม เลขที่ 74 ม.4 ต. มะรุ่ย อ. ทับปุด จ. พังงา ประธานกลุ่ม นายประสงค์ ลูกแก้ว
สภาพพื้นที่ และที่มา • ในพื้นที่ตำบลมะรุ่ย เกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน และมีพื้นที่ว่างในสวน จึงมีความคิดที่จะใช้พื้นที่ว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์ และมีรายได้เสริม ประกอบกับในพื้นที่มีการเลี้ยงโคหลายราย จึงได้รวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มโคเนื้อมะรุ่ยขึ้นเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2542 • ได้จดทะเบียนกับองค์กรเกษตรกรตาม พรบ. กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร พุทธศักราช 2542 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2546
ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่มความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม 1. ได้รับรางวัลสถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ( ประเภทกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ ) ประจำปี 2554 2.ได้รับคัดเลือกเป็นกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ดีเด่น ระดับจังหวัด ตั้งแต่ปี 2542 3. ได้รับคัดเลือกเป็นกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ดีเด่น ระดับ สสอ.ที่ 8 3.1 ได้รับรางวัลกลุ่มเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 2 ปี 2548 3.2 ได้รับรางวัลกลุ่มเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 3 ปี 2551
ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ( ต่อ ) 3.3 ได้รับรางวัลกลุ่มเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 2 ปี 2552 3.4 ได้รับรางวัลกลุ่มเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 1 ปี 2553 3.5 ได้รับรางวัลกลุ่มเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 1 ปี 2554 4.สมาชิกกลุ่มได้รับการคัดเลือกให้เป็นอาสาปศุสัตว์ดีเด่น ระดับสำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8 5.สมาชิกกลุ่มมีการพัฒนาโคเนื้อของกลุ่มได้รับการปรับปรุงพันธุ์จนเป็นที่ยอมรับและได้รับรางวัลจากการประกวดโคเนื้อในงานวันปศุสัตว์จังหวัดพังงา ประจำปี 2553 6.กลุ่มได้รับการคัดเลือกเป็นแหล่งดูงานกิจกรรมศูนย์เรียนรู้การเลี้ยงสัตว์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมปศุสัตว์อินทรีย์
ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ( ต่อ ) 7. กลุ่มได้รับการคัดเลือกให้เป็นแบบอย่างการเลี้ยงโคเนื้อเพื่อทำสารคดีเกี่ยวกับการเลี้ยงโคเนื้อเชิงอนุรักษ์เพื่อเผยแพร่ทางสถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (NBT) รายการนักปกครองไทยใจเกินร้อย ตอนที่ 5 จังหวัดพังงา
ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ( ต่อ ) 8. กลุ่มได้รับการคัดเลือกให้เป็นแหล่งศึกษาดูงานของเกษตรกรและผู้สนใจ ได้แก่ เกษตรกรจาก 3 จังหวัดชายแดนใต้ , วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อบางเหรียง
ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ( ต่อ ) 9. ได้ลงพิมพ์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะรุ่ย ในวารสารข่าวปศุสัตว์ ฉบับที่ 284 เมษายน – พฤษภาคม 2554
ความสำเร็จของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม ( ต่อ ) 10. ได้ลงพิมพ์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ตามรอยเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ปี 54 ” กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อตำบลมะลุ่ย ” ในวารสารสัตว์เศรษฐกิจ
บทบาทของกลุ่ม 1. คณะกรรมการบริหารกลุ่มมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน และอยู่ในวาระชุดละ 2 ปี
บทบาทของกลุ่ม ( ต่อ ) 2.มีการประชุมกลุ่ม - ประชุมประจำเดือน ทุกวันที่ 20 ของเดือน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้และปัญหาของสมาชิก - ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วันที่ 20 มกราคมของทุกปี
บทบาทของกลุ่ม ( ต่อ ) 3.บริหารงานกลุ่มภายใต้กฎระเบียบข้อบังคับของกลุ่ม 4. จัดตั้งกองทุนสัจจะออมทรัพย์ เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนให้สมาชิกกู้ยืม 5. จัดตั้งกองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือครอบครัวสมาชิกในกรณีที่เสียชีวิต
กิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม • กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ 1. มอบทุนการศึกษาแก่นักเรียน 2. มอบทุนยังชีพผู้สูงอายุ
กิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ( ต่อ ) 3.ร่วมเป็นคณะดูแลความปลอดภัยประจำหมู่บ้าน และดูแลด้านยาเสพติด
กิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ( ต่อ ) 5.ร่วมพัฒนาสาธารณะประโยชน์ เช่น ถนน วัด โรงเรียน ฯลฯ 6.ร่วมปลูกป่าชายเลน 7.ร่วมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ
กิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม( ต่อ ) • ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 1.รณรงค์ให้สมาชิกปลูกพืชสมุนไพรแทนยาปฏิชีวนะ 2.ส่งเสริมให้สมาชิกใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเป็นอาหารสัตว์
กิจกรรมสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม( ต่อ ) 3.ส่งเสริมให้สมาชิกใช้มูลสัตว์แทนปุ๋ยเคมี
ประมวลภาพการประกวด ปี 53
ประมวลภาพการประกวด ปี 54