570 likes | 1.57k Views
บทบาท SRRT เครือข่ายระดับตำบล เพื่อสร้างอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน. สวรรยา จันทูตานนท์ กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนมี ระบบและการทำงานระบาดวิทยาที่ดี เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งที่สำคัญ. หลักแนวทางสำคัญในการพัฒนา
E N D
บทบาท SRRT เครือข่ายระดับตำบล เพื่อสร้างอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน สวรรยา จันทูตานนท์ กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนมีระบบและการทำงานระบาดวิทยาที่ดีเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งที่สำคัญอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนมีระบบและการทำงานระบาดวิทยาที่ดีเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งที่สำคัญ หลักแนวทางสำคัญในการพัฒนา • มีคน และทีมงานที่เข้มแข็ง (ทีม SRRT อำเภอ และตำบล) • ใช้ระบาดวิทยาเป็นรากฐานในการทำงานสาธารณสุข • ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่นมีส่วนร่วม ในการควบคุมโรค ส่งเสิมสุขภาพ • สร้างเครือข่าย เชื่อมโยง ในระดับต่างๆ • ให้มีคุณภาพ มาตรฐานในระดับเดียวกัน และมีการยกระดับต่อเนื่อง
เครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT: Surveillance and Rapid Response Team) Central ทั่วประเทศไทย1,030 ทีม Region C-SRRT Province District R-SRRT Sub- district Village P-SRRT D-SRRT อาสาสมัครสาธารณสุข
เครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT: Surveillance and Rapid Response Team) Central ทั่วประเทศไทย1,030 ทีม Region C-SRRT 68 ทีมในกรุงเทพ Province 9,810 ทีมใน 2555 District R-SRRT Sub- district Village P-SRRT D-SRRT อาสาสมัครสาธารณสุข
เครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว บทบาทหน้าที่ เฝ้าระวังโรค/ตรวจจับความผิดปกติ สอบสวนควบคุมป้องกันโรค เตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ระดับประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับตำบล การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่ เพื่อค้นหาความผิดปกติ ระดับหมู่บ้าน
สมาชิกเครือข่ายระดับตำบลสมาชิกเครือข่ายระดับตำบล • เจ้าหน้าที่ รพ.สต. หรือ สอ. (แห่งละ 1 คน) • อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (ตำบลละ 3 คน) • บุคลากร อปท. ได้แก่ อบต. หรือ เทศบาลตำบล (1-2 คน) • กลุ่มอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ปศุสัตว์ตำบล ครู
เป้าหมายของการพัฒนาเครือข่ายSRRT ตำบล 3 ร อ • รู้เร็ว (และตรวจสอบ) • รายงานเร็ว (แจ้งข่าว) • ควบคุมเร็ว (จำกัดการะบาด)
SRRT ตำบล เข้าใจหลักการเฝ้าระวังเหตุการณ์และทำงานกับเครือข่ายในระดับตำบล เพื่อแจ้งข่าวเหตุการณ์ผิดปกติ รู้จักชนิดของเหตุการณ์ผิดปกติทางด้านสาธารณสุข สามารถตรวจสอบข่าวเบื้องต้นที่ได้รับแจ้งจากแหล่งข่าวและ ดำเนินการตอบสนองได้เหมาะสม มีทักษะการทำงานจริงในการควบคุมโรค
เหตุการณ์ที่มักจะพบ เริ่มมีผู้ป่วย รายแรก ทราบผล การตรวจ วันที่รายงานโรค ดำเนินมาตรการ ควบคุมโรค วันที่ผู้ป่วย มาพบแพทย์ ส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ จำนวน ผู้ป่วย ช่วงเวลาที่มีโอกาส ในการควบคุมโรค จำนวนวัน
การรายงานและดำเนินการเร็วการรายงานและดำเนินการเร็ว ดำเนินมาตรการ ควบคุมโรค เริ่มมีผู้ป่วย รายแรก จำนวนผู้ป่วยที่ป้องกันได้ จำนวน ผู้ป่วย จำนวนวัน
สรุปการทำงานร่วมกันในเครือข่ายสรุปการทำงานร่วมกันในเครือข่าย สอบสวน ควบคุมโรคได้เร็วขึ้น ตรวจสอบ แจ้งข่าว เหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน
SRRTเครือข่ายระดับตำบล กลุ่ม วัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง • รู้เร็ว • รายงานเร็ว • ควบคุมเร็ว • อสม/เครือข่าย • จนท. รพ.สต. • SRRT อำเภอ • แจ้งข่าว • ตรวจสอบ • สอบสวน 12
การเฝ้าระวัง 2 ระบบ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ • 1. การเฝ้าระวังโดยรายงานผู้ป่วย • 2. การเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ ผู้ป่วยที่มารับบริการที่ สอ./รพ.สต. • เหตุการณ์ผิดปกติเกี่ยวกับสาธารณสุข รายคน รายเหตุการณ์ เก็บวิเคราะห์แปลผล แจ้งตรวจสอบรายงาน สัญญาณภัย ประเมิน และสอบสวน มีความสำคัญสาธารณสุข กระจายเผยแพร่ ควบคุมโรค
หลักพื้นฐานการพัฒนา SRRT ระดับพื้นที่ เพื่อสนับสนุน อำเภอเข้มแข็งการเฝ้าระวังป้องกันโรค
การบูรณาการอำเภอเข้มแข็งการเฝ้าระวังป้องกันโรค เป็นบทบาทภารกิจ ด้านสาธารณสุขและด้านสังคมของพื้นที่สอดคล้องกับการกระจายอำนาจ และการปรับโครงสร้างการทำงานระดับพื้นที่ • ทีม SRRT ระดับตำบล เป็นส่วนหนึ่งของ ทีมบูรณาการอำเภอเข้มแข็งการเฝ้าระวังป้องกันโรค ซึ่งประกอบด้วยทีมงาน และการประสานงานร่วมกับ หน่วยงานต่างๆในพื้นที่ และภาคีประชาชน • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อบต เทศบาล เทศบาลตำบล มีภารกิจการเฝ้าระวังป้องกันโรค ภัยสุขภาพ ด้านสาธารณสุขและด้านสังคม เป็นผู้บริหารจัดการ ทีมท้องถิ่นเข้มแข็งเฝ้าระวังป้องกันโรคและ SRRT ตำบลด้วย
SRRT ระดับตำบล มีศักยภาพหลักด้านการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพเชิงเหตุการณ์ เน้น Event based surveillance และการรายงานโรค เพื่อการประสานการควบคุมโรค รวดเร็ว โดยมี SRRT ระดับอำเภอและ SRRT จังหวัด เป็นพี่เลี้ยงด้านการสอบสวนโรค • SRRT อำเภอ และจังหวัด มีบทบาทเป็นพี่เลี้ยงและผู้สนับสนุน โดยมี สคร และสำนักระบาด (เป็นหน่วยงานต้นน้ำ) ให้การสนับสนุนทางวิชาการและการสนับสนุนปฏิบัติการตามความจำเป็น • มาตรฐานความเข้มแข็งการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค ระดับพื้นที่ ใช้แนวทางการพัฒนาให้สอดคล้องกับหลัก มาตรฐานกฎอนามัยสากล International Health Regulation
การรายงานเหตุการณ์ผิดปกติการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ ผ่ าน ร ะบ บ Internet โดย ศุภราภรณ์ พันธ์เถระ
วัตถุประสงค์ ใช้กำกับการดำเนินงาน กำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูล ศึกษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล ใช้ติดตามสถานการณ์ความผิดปกติร่วมกัน ระหว่างเครือข่ายเพื่อประโยชน์ในการวางแผนควบคุมป้องกัน
ทาง Website www.boe.moph.go.th การรายงานเหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุข
บันทึกเหตุการณ์ผิดปกติผ่านระบบ Internet จจออตต จจออตต ใส่ User name เป็นตัวเลข 6 หลัก password เป็นตัวเลข 6 หลัก ตัวอย่าง 500203 หมายถึง อำเภอจอมทอง ตำบลบ้านหลวง
เหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุขเหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุข บันทึกเมื่อมีเหตุการณ์ผิดปกติ เป็นรายงาน สามารถเรียกดูข้อมูลเหตุการณ์ผิดปกติ เป็นภาพ จังหวัด อำเภอตำบล หรือตามวัน
บันทึกข้อมูล/เหตุการณ์ผิดปกติบันทึกข้อมูล/เหตุการณ์ผิดปกติ บันทึกตามโครงสร้าง
โรค/กลุ่มอาการ อาการผิดปกติของ ทางเดินอาหาร อาการ ILI ไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดนก ปอดบวม อหิวาตกโรค อาหารเป็นพิษ อุจจาระร่วง ลำไส้อักเสบ บิด ไข้ออกผื่น หัด หัดเยอรมัน สุกใส ไข้ปวดข้อยุงลาย ไข้สมองอักเสบ ไข้กาฬหลังแอ่น ติดเชื้อระบบประสาท ไข้และการรับรู้ เปลี่ยนแปลง
โรค/กลุ่มอาการ โรคนำโดยสัตว์ อาการคล้าย ๆ กันหลายราย หรือตายเฉียบพลัน หรือไม่ทราบสาเหตุ โรคพิษสุนัขบ้า Leptospirosis เหตุการณ์ผิดปกติที่อาจมีผลต่อสุขภาพ
เลือกจังหวัด อำเภอ ตำบล และลงรายชื่อหมู่บ้าน เลือกจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ที่ผู้ป่วยอาศัยอยู่จริง
รายงานเหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุขรายงานเหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุข เลือกจังหวัด อำเภอ ตำบล
รายงานเหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุขรายงานเหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุข
บันทึกข้อมูลทีม SRRT ตำบล เพิ่มข้อมูลบุคลากรทีม SRRT ตำบลตามโครงสร้าง แสดงรายชื่อทีม SRRT ตำบล สามารถเลือกดูได้หลายแบบ (จังหวัด อำเภอ ตำบล)
เพิ่มข้อมูลบุคลากร SRRT ตำบล ลงรายละเอียดตามโครงสร้าง