750 likes | 1.67k Views
KMITL. ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology 7 มิถุนายน 2554 กสิน วิเชียรชม kvkasin@kmitl.ac.th. Research Methodology. การสำรวจความรู้ (Literature Survey) การประเมินงานวิจัยที่สำรวจ การแบ่งกลุ่มงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แหล่งข้อมูลงานวิจัย การค้นหาข้อมูลงานวิจัย การจัดการข้อมูลงานวิจัย
E N D
KMITL ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology 7มิถุนายน 2554 กสิน วิเชียรชม kvkasin@kmitl.ac.th
Research Methodology • การสำรวจความรู้ (Literature Survey) • การประเมินงานวิจัยที่สำรวจ • การแบ่งกลุ่มงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • แหล่งข้อมูลงานวิจัย • การค้นหาข้อมูลงานวิจัย • การจัดการข้อมูลงานวิจัย • การทบทวนความรู้ (Literature Review)
การสำรวจความรู้ (Literature Survey) • สำคัญอย่างไร • ทำให้ทราบวิวัฒนาของการแก้ปัญหาดังกล่าวตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งได้เห็นแนวโน้มในอนาคต • เรียนรู้เทคนิคต่างๆที่คนอื่นเคยใช้แล้ว • ทราบถึงจุดด้อย-จุดเด่นของวิธีการต่างๆ • ทราบถึงวิธีการล่าสุดในปัจจุบัน
การสำรวจความรู้ (Literature Survey) • สำคัญอย่างไร • ช่วยทำให้เราได้รู้จักกับแหล่งข้อมูลที่เราไม่เคยรู้จักมากก่อน (เช่น จากการดู references) • พบวิธีแก้ปัญหาแบบเดียวกับที่เรากำลังเผชิญ อาจจะเป็น วิธีการทดลอง วิธีการวัดค่าต่างๆ การทำความเข้าใจกับข้อมูลของเรา การวิเคราะห์ผลที่ได้ • ทราบถึงจุดด้อย-จุดเด่นของวิธีการต่างๆ • ทราบถึงวิธีการล่าสุดในปัจจุบัน
การสำรวจความรู้ (Literature Survey) • สำคัญอย่างไร (ต่อ) • ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจว่าหัวข้อที่จะทำนั้นมีความสำคัญสมควรที่จะทำ • ทำให้ได้รู้ว่าใครคือผู้ที่เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ • ช่วยทำให้เกิดความคิดใหม่ • ถ้าไม่สำรวจให้เพียงพอ • อาจจะทำผิดพลาดซ้ำแบบที่ผู้อื่นเคยประสบ • อาจจะทำงานซ้ำกับงานที่ได้ทำไปแล้ว
การสำรวจความรู้ (Literature Survey) • ในการสำรวจต้องเข้าใจสิ่งเหล่านี้ • สาขาของงานวิจัย • คำสำคัญ(Keyword) • บทคัดย่อ(Abstract) • ความสำคัญของสาขาวิจัย • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
สาขาของงานวิจัย • ไม่มีเกณฑ์ตายตัวในการแบ่ง • เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา • มีการแยกย่อยแตกออกมา • มีการจัดรวมกลุ่มขึ้นมาใหม่ • ควรที่จะไม่กว้างเกินไป (being more specific) • Computer network : TCP/IP • Robotic Vision: Moving Object Tracking
บทคัดย่อ (Abstract) • เนื้อหาแสดงถึงสิ่งที่นักวิจัยได้ทำอย่างย่อและได้ใจความ(concise) • โครงสร้างของบทคัดย่อประกอบด้วย • ปัญหาหรือโจทย์(Problem) • ข้อเสนอ(Proposal) • วิธีการ (How to solve/Method) • การประเมินประสิทธิภาพที่วัดได้ (Evaluation/Quantifying results/)
การประเมินงานวิจัยที่สำรวจการประเมินงานวิจัยที่สำรวจ • เราต้องสามารถประเมินในเบื้องต้นว่างานวิจัยที่เรากำลังสำรวจมีความสำคัญอย่างไรนั้น • Impact : มีผลกระทบอย่างไรบ้าง • Difficulty/Complexity ความซับซ้อน ยากง่ายอย่างไร • Originality: มีอะไรใหม่บ้าง • Application: ผลที่ได้เอาไปทำประโยชน์อะไรได้บ้าง • How to attack the problem: มุมมองการแก้ปัญหาของผู้วิจัย
การประเมินงานวิจัยที่สำรวจการประเมินงานวิจัยที่สำรวจ เครื่องตรวจเช็กความอ่อนแก่ของทุเรียนโดยอัลตราโซนิก Impact: มีผลต่อการส่งออก Difficulty/Complexity: ต้องตรวจแบบไม่ทำลาย Originality: ไม่เคยมีใครทำมาก่อน Application: ระบบตรวจเช็กแบบอัตโนมัติชนิดไม่ทำลาย How to attack the problem: ความเร็วและความเที่ยงตรงในการวัด (ที่มา: ดร โกสินทร์ จำนงไทย)
แบ่งกลุ่มงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแบ่งกลุ่มงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ในหัวข้อที่เราสำรวจ สามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆได้อีก • ต้องบอกได้ว่าเราอยู่ตรงไหนของภาพรวมทั้งหมด • กำหนดเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาที่งานวิจัยล่าสุดยังแก้ไม่ได้หรือที่เราคิดว่าจะปรับปรุงได้ • กำหนดเป้าหมายใหม่ที่ต่างจากที่มีมาก่อน
แบ่งกลุ่มงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแบ่งกลุ่มงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ตัวอย่าง Tree diagram Moving Object Tracking Frequency domain Time Domain Energy domain Time + Energy domain (ที่มา: ดร โกสินทร์ จำนงไทย)
แหล่งข้อมูลงานวิจัย • หนังสือ (book) • วารสารวิชาการ (journal, transaction) • Technical Magazine • Short paper / Letter / Correspondence • Conference / Workshop Proceeding • Technical Report / Internal Report • Unpublished / Personal Communication
แหล่งข้อมูลงานวิจัย • ตำราเรียน(Text Books) • เนื้อหาสมบูรณ์ ให้หลักการพื้นฐาน ทฤษฎีที่สำคัญ • ข้อมูลมักจะไม่ทันสมัย • หนังสือเฉพาะด้าน • อาจมีหลายคนแต่ง เช่นแต่งคนละบทและมี Editor ต่างหาก • คนแต่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ • เนื้อหาจำเพาะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง • ทันสมัยกว่าตำราเรียน
แหล่งข้อมูลงานวิจัย วารสารวิชาการ (Journal / Transaction) • จุดประสงค์ (Objectives) • รวบรวมบทความวิจัยที่ค่อนข้างสมบูรณ์(Report the complete both work theoretical and experimental) • ประกาศการค้นพบ (Claim the idea) • เนื้อหาเหมาะกับนักวิจัยในสาขานั้นๆ (Suitable for people in its field) • โดยทั่วไปเนื้อหาจะช้าไป 6 -12 เดือน เพราะต้องมักจะใช้ระยะเวลา review นาน
แหล่งข้อมูลงานวิจัย • แหล่งที่มา • สมาคม องค์กร ของผู้ประกอบวิชาชีพในสาขานั้น เช่น • IEEE : Institute of Electrical and Electronic Engineering • ASME: American Society of Mechanical Engineers • SIAM: Society for Industrial and Applied Mathematics • APS: American Physical Society • AIP: American Institute of Physics
แหล่งข้อมูลงานวิจัย • แหล่งที่มา (ต่อ) • สำนักพิมพ์ต่างๆ เช่น Academic Press, Kluwer • หน่วยงานรัฐบาล องค์กรต่างๆ บริษัทเอกชนชั้นนำ เช่น NASA, IBM, HP, NECTEC • ลักษณะสำคัญ (Features) • มีความยาวหลายหน้า (Long in length ) • เนื้อหาสมบูรณ์ในตัวเอง (Self contained / self sufficient) • ไม่มีกำหนดการรับบทความ (No submission deadline)
แหล่งข้อมูลงานวิจัย • IEEE Transactions on Magnetics • IEEE Transactions on Signal Processing • IEEE Journal of Solid-State Circuit • Journal of Applied Physics • Journal of Magnetism and Magnetic Materials • Physical Review • Journal of Tribology • Journal of Vibration and Acoustics
แหล่งข้อมูลงานวิจัย • Short paper / Letter / Correspondence • เนื้อหาจะสั้นกะทัดรัด กว่า Journal / Transaction • รายงานผลการวิจัย ที่ทันสมัย รวดเร็วกว่า Journal แต่อาจจะมีความสมบูรณ์น้อยกว่า • Comments โต้ตอบในเชิงวิชาการต่อบทความอื่น • ตัวอย่าง • Applied Physics Letters • Physical Review Letters • Nano Letters • Electronics Letters
แหล่งข้อมูลงานวิจัย Technical Magazine • จุดประสงค์ (Objectives) • Report work (theoretical/experimental) in less technical / mathematic form • Introduce/distribute/digest the new knowledge • Suitable for engineers/scientists in general • แหล่งที่มา • เช่นเดียวกับ วารสารวิชาการ
แหล่งข้อมูลงานวิจัย • ลักษณะสำคัญ (Features) • No specific length • Self contained /self sufficient • No submission deadline • ตัวอย่าง • IEEE Spectrum • IEEE Communication Magazine • Physics Today • Signal Processing Magazine
แหล่งข้อมูลงานวิจัย Conference / Workshop Proceeding • รวบรวมบทความวิจัยที่นำเสนอในการประชุมต่างๆทีเราเรียกว่า Conference หรือ Symposium หรือ Workshop • จุดประสงค์ (Objectives) • Report Preliminary results (mostly) • Claim the idea • Suitable for researchers in its field
แหล่งข้อมูลงานวิจัย • ลักษณะสำคัญ (Features) • มักจะมีรูปแบบการเขียน จำนวนหน้าที่ตายตัว(Fixed in length, style, usually short < 8 pages) • เนื้อหาจะสอดคล้องกับ Theme ของการประชุมซึ่งจะมีการประการไว้ใน “Call for Paper” หรือประกาศชวนให้ส่งบทความ • มีกำหนดส่งและแจ้งผลการตอบรับ (Submission deadline)
แหล่งข้อมูลงานวิจัย ตัวอย่าง Proceeding/Digest ของการประชุมวิชาการ • IEEE International Solid-State Circuits Conference ( ISSCC) • IEEE International Magnetics Conference • IEEE International Symposium on Circuits and Systems ( ISCAS) • International Electron Device Meeting (IEDM) • EECON, ISCIT, APCCAS, etc
แหล่งข้อมูลงานวิจัย ระดับของบทความ • National • วิศวสารลาดกระบัง, NECTEC Technical Journal, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย • Regional • ASEAN Journal on Science and Technology • International
การค้นหาข้อมูลงานวิจัยการค้นหาข้อมูลงานวิจัย • ห้องสมุด • Hardcopy • E-document • Online access • Citation and reference lists • Internet • Website องค์กร หน่วยงาน ราชการ เอกชน • Online Database ของหน่วยงานเช่น NECTEC, สภาวิจัยแห่งชาติ, NSF • Website มหาวิทยาลัยต่างๆ research group • ระวังความถูกต้องของข้อมูลที่จาก internet
การจัดการข้อมูล • รวบรวมข้อมูลที่ค้นคว้า จัดแบ่งเป็นหมวดหมู่ตามลำดับลักษณะความเกี่ยวข้องของเนื้อหาต่อหัวข้อวิจัย เช่น • Theory • Modeling • Experiment • Implementation etc. • เทคนิค,วิธีการในลักษณะเดียวกัน ฯลฯ • ควรจัดลำดับตามวันเวลาจาก อดีตสู่ปัจจุบัน
การจัดการข้อมูล • ทำความเข้าใจอย่างถ่องแท้ จนสามารถจับประเด็นที่สำคัญ หรือหัวใจของงานวิจัยนั้น • สรุปเนื้อหา แจกแจง ข้อดี ข้อด้อย แล้วทำบันทึกอย่างมีระบบ (ที่มา: ดร โกสินทร์ จำนงไทย)
Using the citations and reference lists • track downany references that you see cited by three or more other researchers • because such references are clearly influencing current work in your field and should not be overlooked. • Whenever possible, go to the original source and read it yourself since most authors misrepresent the work of a particular researcher in the same, particular way; apparently, they are reading one another’s descriptions of that researcher’s work rather than reading the researcher’s own words!
Hierarchy of Credibility • Peer-reviewed • Additional rankings of journals within profession, and by citation analysis (ISI impact factor, citation half-life, etc.) • Academic publishers • Government agencies • Reputable trade & consumer publications
Information Currency • Preprints, Periodicals most current • Be aware of lag time in scholarly publishing cycle; takes time for research in “hot topics” to appear in scholarly literature • Lag time of year or more for information in books • Often difficult to evaluate currency of Web sites
การทบทวนงานวิจัย (Literature review) • หมายถึง การอ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากนั้น สังเคราะห์ขึ้นมาใหม่ ด้วยวิธีการนำเสนอที่เป็นระบบ มีความสัมพันธ์ในเนื้อความ และมีคุณค่าในตัวเอง • สำคัญอย่างไร • เป็นการให้ความรู้ที่จำเป็นแก่ผู้อ่านสำหรับที่จะศึกษาและทำความเข้าใจงานวิจัยของเรา • เป็นการแสดงให้เห็นว่าเราเป็นผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสิ่งที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ทำวิจัย • เป็นสิ่งที่สนับสนุนให้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นของหัวข้อที่ทำวิจัย
Literature Review (ที่มา: ดร.ศิริเดช บุญแสง)
Evaluating, Organizing, and Synthesizing the Literature • Too many literature reviews do nothing more than report what other people have done and said • We learn nothing new from such a review; we’d better off reading the original articles for ourselves • In a good literature review, the researcher doesn’t merely report the related literature
Evaluating, Organizing, and Synthesizing the Literature • He or she also evaluates, organizes, and synthesizes what others have done • Do not only read other people’s work but you must also critically evaluate their methods and conclusions • Never take other people’s conclusions at face value; determine for yourself whether their conclusions are justified based on the data presented
Evaluating, Organizing, and Synthesizing the Literature • In addition to evaluating what you read, you must also organize the ideas you encounter during your review • The subproblems within your main problem should, in many cases, provide a general organizational scheme you can use • Looking at how other authors have organized literature reviews related to your topic may be helpful as well
Evaluating, Organizing, and Synthesizing the Literature • Finally, and perhaps most importantly, you must synthesize what you have learned from your review • In other words, you must pull together the diverse perspectives and research results you have read into a cohesive whole
Evaluating, Organizing, and Synthesizing the Literature • Here are some examples of what you might do: • Compare and contrast varying theoretical perspectives on the topic • Show how approaches to the topic have changed over time. Describe general trends in research findings • Identify discrepant or contradictory findings, and suggest possible explanations for such discrepancies • Identify general themes that run throughout the literature
Evaluating, Organizing, and Synthesizing the Literature • When you write a literature review that does such things, you have contributed something new to the knowledge in the field even before you have conducted your own study • In fact, a literature review that makes such a contribution is often publishable in its own right
The Formal Literature Review Most find the writing of a literature review a difficult task that takes patience, practice, drafts, and redrafts
The Formal Literature Review The formal literature review is a very specific piece of writing designed to: • inform your readers of your topic • establish your credibility as a researcher • argue the need for, and relevance of, your work
Writing your Literature Review A good literature review is an argument that is more purposeful than a simple review of relevant literature
Writing your Literature Review Writing a good review requires you to: • read a few good reviews • write critical annotations • develop a structure • write purposefully • use the literature to back up your arguments • review and write throughout the research process • get feedback • and be prepared to redraft
Writing your Literature Review Style and Tone… • Writing a good literature review can be likened to holding a good dinner party conversation • They both require individuals who can engage, learn, debate, argue, contribute, and evolve their own ideas, without being hypercritical or sycophantic
Writing LR - Guidelines • Get the proper psychological orientation • Have a plan • Emphasize relatedness • Give credit where credit is due • Review the literature. Don’t reproduce it! • Summarize what you have said • Remember that your first draft will almost certainly NOT be your last draft • Ask others for advice and feedback
Psychological Orientation • Get the proper psychological orientation • Be clear in your thinking – know precisely what you are attempting to do • LR is a discussion of the studies, research reports, scholarly or broad spectrum writing • Consider discussion with a peer about what others have written in relation to what you plan to do
Psychological Orientation • This view will help develop proper psychological perspective and see effort in relation to other researchers • Students consider LR as an unnecessary appendage (something added to or joined to something larger), eager to get on with the research • To the contrary, a conscientious and thorough review of the literature related to your problem can open up new possibilities and new ways of looking at the problem that might have been totally overlooked otherwise