510 likes | 928 Views
K. i. M. T. L. ๔. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. วิทยาเขตชุมพร. n o h p m u h c. KING MONGKUT’S INSTITUTE OF TECHNOLOGY LADKRABANG CHUMPHON CAMPUS. ผลของอุณหภูมิต่อการเก็บรักษาของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่อินทรีย์. Effect of Temperatures on Storage of Organic Upland Rice Seed.
E N D
K i M T L ๔ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร n o h p m u h c KINGMONGKUT’S INSTITUTE OF TECHNOLOGY LADKRABANG CHUMPHON CAMPUS ผลของอุณหภูมิต่อการเก็บรักษาของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่อินทรีย์ Effect of Temperatures on Storage of Organic Upland Rice Seed นำเสนอโดย... ร่วมจิตร นกเขา KMITL CHUMPHON
ความสำคัญ ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวไร่ 41.57 ล้านไร่ ปลูกมากบนที่ดอนในสภาพไร่อาศัยน้ำฝนตามธรรมชาติในการเจริญเติบโต การปลูกข้าวไร่มีปัจจัยที่ต้องพิจารณาที่นอกเหนือจากสภาพแวดล้อม คือ คุณภาพของเมล็ดพันธุ์ (บุญหงษ์, 2549)
ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช สารเคมีสังเคราะห์ การปลูกในระบบเกษตรอินทรีย์ (วัลลภ, 2540; Lampkin and Padel, 1994)
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ ผลผลิต การปลูกในระบบเกษตรอินทรีย์ เป็นปัจจัยหนึ่งที่เป็นตัวบ่งชี้ อัตราการเจริญเติบโต ความสม่ำเสมอ (วัลลภ, 2540; Lampkin and Padel, 1994)
จึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภายใต้ระบบเกษตรอินทรีย์จึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภายใต้ระบบเกษตรอินทรีย์ การใช้เมล็ดพันธุ์ดีมีคุณภาพสูง
การศึกษาผลของอุณหภูมิต่อการเก็บรักษาของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ที่ได้จากการผลิตภายใตัระบบเกษตรอินทรีย์การศึกษาผลของอุณหภูมิต่อการเก็บรักษาของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ที่ได้จากการผลิตภายใตัระบบเกษตรอินทรีย์ จึงมีความสำคัญเพื่อช่วยให้การผลิตภายใต้ระบบเกษตรอินทรีย์ได้ใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพดี
การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ เป็นขั้นตอนที่จำเป็นในวงจรการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ เป็นการรักษาคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความมีชีวิตและความแข็งแรงไว้สำหรับการเพาะปลูกและการผลิตพืช (จวงจันทร์, 2529)
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเสื่อมคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ระหว่างการเก็บรักษาปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเสื่อมคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ระหว่างการเก็บรักษา อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ ชนิดของพืช ความชื้นของเมล็ดพันธุ์ (วัลลภ ขวัญจิตร และ พรวิรัช, 2533)
สภาพภูมิอากาศที่มีอุณหภูมิและความชื้นสูงสภาพภูมิอากาศที่มีอุณหภูมิและความชื้นสูง เปลี่ยนแปลงมากในเขตร้อนชื้น ทำให้เมล็ดพันธุ์สูญเสียความงอกไปอย่างรวดเร็ว (Abdullah,Powell and Mathews, 1992)
การเก็บรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ในเขตร้อนชื้นการเก็บรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ในเขตร้อนชื้น ต้องเก็บเมล็ดพันธุ์ที่แห้งที่ความชื้นประมาณ 8 เปอร์เซ็นต์/ต่ำกว่า บรรจุในถุงพลาสติก ปิดปากถุงให้แน่น แล้วเก็บในภาชนะที่กันน้ำได้ กล่องโฟม สามารถเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ได้นาน 12 เดือน (วัลลภ, 2541)
การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวในเขตร้อนชื้นการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวในเขตร้อนชื้น โดยใช้ข้าวพันธุ์กข.7 กข.13 แก่นจันทร์ ขาวมะลิ105 ดอกพะยอม และนางพญา132 โดยเมล็ดพันธุ์มีความชื้น 11-12 เปอร์เซ็นต์ บรรจุในถุงกระดาษ และถุงพลาสติก ที่อุณหภูมิห้อง
สามารถเก็บรักษาให้มีความงอกไว้ในระดับ 75 เปอร์เซ็นต์ ได้นาน 6 เดือน แต่ถ้าเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ดังกล่าวในห้องเย็นที่อุณหภูมิ 10๐ซ นาน 12 เดือน เมล็ดพันธุ์ยังงอกได้สูงกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป
ปลูกข้าวไร่จำนวน 7 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์สามเดือน นางเขียน นางครวญ นางดำ เล็บนก ภูเขาทอง และดอกขาม ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง เดือนตุลาคม2551 เก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ที่สุกแก่ นำเมล็ดพันธุ์มาทดสอบคุณภาพก่อนการเก็บรักษา วิธีการทดลอง
คุณภาพเมล็ดพันทางกายภาพ - ความชื้นของเมล็ดพันธุ์ คุณภาพเมล็ดพันทางสรีรวิทยา - ความงอกมาตรฐาน - ดัชนีความเร็วในการงอก - น้ำหนักแห้งของต้นกล้า - ความยาวรากและยอด ทดสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ (AOSA, 2002 )
นำเมล็ดพันธุ์ 7 พันธุ์บรรจุในถุงพลาสติก เก็บที่อุณหภูมิห้องและห้องเย็นที่ 10๐ซ นาน 9 เดือน สุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ที่เก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิห้อง และห้องเย็นทุก 3 เดือน จนครบ 9 เดือน มาทดสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2551 ถึง เดือนกรกฎาคม 2552 อาคารปฏิบัติการเมล็ดพันธุ์ ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่
Table 1Moisturecontent, Standard germination, Speed of germination index, Seedlinglength and Seedling dry weight of organic upland rice 7 varieties at room temperature to 9 months
ns = non-significant * = significant different at P ≤ 0.05 Within each column, means not followed by the same letter are significantly different at the 5% level of probability as determined by DMRT
ns = non-significant * = significant different at P ≤ 0.05 Within each column, means not followed by the same letter are significantly different at the 5% level of probability as determined by DMRT
Table 2 Moisturecontent, Standard germination, Speed of germination index, Seedling length and Seedling dry weight of upland rice 7 varieties (conventional) at room temperature to 9 months
ns = non-significant * = significant different at P ≤ 0.05 Within each column, means not followed by the same letter are significantly different at the 5% level of probability as determined by DMRT
ns = non-significant * = significant different at P ≤ 0.05 Within each column, means not followed by the same letter are significantly different at the 5% level of probability as determined by DMRT
Table 3Moisturecontent, Standard germination, Speed of germination index, Seedlinglength and Seedling dry weight of organic upland rice 7 varieties at cold temperature (10 C) to 9 months
ns = non-significant * = significant different at P ≤ 0.05 Within each column, means not followed by the same letter are significantly different at the 5% level of probability as determined by DMRT
ns = non-significant * = significant different at P ≤ 0.05 Within each column, means not followed by the same letter are significantly different at the 5% level of probability as determined by DMRT
Table 4Moisturecontent, Standard germination, Speed of germination index, Seedlinglength and Seedling dry weight of upland rice 7 varieties (conventional) at cold temperature (10 C) to 9 months
ns = non-significant * = significant different at P ≤ 0.05 Within each column, means not followed by the same letter are significantly different at the 5% level of probability as determined by DMRT
ns = non-significant * = significant different at P ≤ 0.05 Within each column, means not followed by the same letter are significantly different at the 5% level of probability as determined by DMRT
สรุป เมล็ดพันธุ์ข้าวไร่อินทรีย์ 7 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์สามเดือน นางครวญ นางเขียน นางดำ เล็บนก ภูเขาทอง และดอกขาม เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องและห้องเย็นคงความงอกได้ไม่ต่ำกว่า 79.00 และ 81.00 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ยกเว้นพันธุ์นางดำที่เก็บในอุณหภูมิห้องมีความงอกเหลือเพียง 71.50 เปอร์เซ็นต์
สรุป สำหรับเมล็ดพันธุ์ที่ผลิตโดยใช้สารเคมีที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง และห้องเย็นคงความงอกได้ไม่ต่ำกว่า 81.00 และ 87.50 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ เมล็ดพันธุ์ข้าวไร่อินทรีย์สามารถเก็บรักษาไว้ได้ในสภาพอุณหภูมิห้องได้นาน 9 เดือนโดยไม่มีผลทำให้เปอร์เซ็นต์ความงอกลดลงต่ำกว่ามาตรฐาน
K i M T L สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง c h u m p h o n วิทยาเขตชุมพร ๔ n o h p m u h c KINGMONGKUT’S INSTITUTE OF TECHNOLOGY LADKRABANG CHUMPHON CAMPUS จบการนำเสนอ KMITL CHUMPHON