560 likes | 751 Views
วิชา ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce. Lec02 : Building EC System. โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com xnattapong@hotmail.com. Building EC System. EC System. Website Hardware Software Catalog Shopping cart Payment People Telecommunication. การเริ่มต้นทำธุรกิจออนไลน์.
E N D
วิชา ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์E-Commerce Lec02 :Building EC System โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com xnattapong@hotmail.com
EC System • Website • Hardware • Software • Catalog • Shopping cart • Payment • People • Telecommunication
การเริ่มต้นทำธุรกิจออนไลน์การเริ่มต้นทำธุรกิจออนไลน์ • จัดตั้งธุรกิจ • กำหนดธุรกิจที่จะทำ • ศึกษาความเป็นไปได้ • กำหนดทีมงาน • e-business plan • แผนธุรกิจ • แหล่งเงินทุน • ทุนส่วนตัว • ทุนกู้ยืมจากสถาบันการเงิน • นักลงทุน (Venture capital)
e-Business Plan • เป้าหมายองค์กร แผนธุรกิจ (Business Planning) • สารสนเทศขององค์กร • ข้อมูล • แพลตฟอร์มระบบ ซอฟต์แวร์ OSสำหรับSERVER และเครือข่าย • เทคนิค • กฎระเบียบปฏิบัติการใช้ระบบ การเข้าถึงระบบ
ตัวอย่าง platform Operating system (OS) Web server Company 1. Windows 2000 Server - Microsoft Internet Information Server (IIS) - Microsoft 2. Novell Netware - Netware Enterprise Web Server - Novell 3. Sun Solaris - iPlanet Web Server Enterprise - SUN 4. Linux (freeware) - Netscape Enterprise Server (NES) - Netscape 5. Linux (freeware) - Apache (Freeware) (***นิยม) - The Apache Software Foundation
ประเภทของเว็บไซต์ • เว็บข่าวสาร (Information Web site) • Yahoo.com • เว็บโต้ตอบ (Interactive Web site) • Toyota.com, ais.co.th, hotmail.com, • เว็บเพื่อธุรกรรมค้าขาย (Transaction Web site) • Amazon.com, dell.com ฯลฯ
Example • www.yahoo.com • www.Fishso.com • www.toyota.com • www.kapook.com
ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์ • กำหนดพื้นที่เซิร์ฟเวอร์ (Web Host) • การจดโดเมนเนม (Register a domain name) • การกำหนดเนื้อหา (Create and manage content) • การออกแบบเว็บไซต์ (Web Design) • การสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ (Web Site Construction) • การประชาสัมพันธ์ (Web site Promote) • การทำ CRM
1. กำหนดพื้นที่เซิร์ฟเวอร์ (Web Host) 1.1 เช่าพื้นที่ • Store builder service • ร้านค้าออนไลน์สำเร็จรูป • ISP hosting service • Web hosting service 1.2 Self – host
Own Your store • Yahoo.com • Tarad.com • Vellocal.com • Maxsaving.com
ขอเช่าพื้นที่ในเว็บเซิฟเวอร์ผู้อื่น (Dedicated Server) • ค่าใช้จ่ายน้อย • เพราะเป็นการขอเช่าพื้นที่ในเว็บเซิฟเวอร์ของผู้อื่น • มีบริษัทในและต่างประเทศที่เปิดให้บริการ • ราคาจะแตกต่างกันไปตามรายละเอียด และเงื่อนไขบริการที่ให้ • ปัจจัยที่ควรจะพิจารณา • ขนาดพื้นที่สำหรับเก็บข้อมูล • ความเร็วในการรับส่งข้อมูล • มีการจำกัดประมาณข้อมูลที่รับส่งหรือไม่ • มีบริการสนับสนุน CGI, ASP, PHP • ในกรณีที่เราใช้โปรแกรมเหล่านี้หรือไม่
เป็นเจ้าของเอง (Own Server) • มีค่าใช้จ่ายสูงที่สุด • จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ • ค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อเป็นเครื่องเซิฟเวอร์กับอินเตอร์เน็ตแบบตลอด 24 ชม. • ต้องเชื่อมต่อด้วยความเร็วสูงจึงจะรองรับการส่งข้อมูลที่เกิดขึ้นตลอดเวลาได้รวดเร็วพอ เชื่อมต่อโดยใช้ lease line • เชื่อมต่อเครื่องเซิฟเวอร์ของเรากับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) • ใช้สาย lease line ซึ่งเป็นสายส่งข้อมูลเช่ารายเดือน (วงจรเช่า) เชื่อมต่อตลอดเวลากับ (ISP) • เสียค่าบริการรายเดือน ขึ้นอยู่กับความเร็วในการส่งข้อมูลที่ใช้ • เสียค่าเช่าสาย lease line รายเดือนให้กับการสื่อสารแห่งประเทศไทย
ข้อดี • มีเครื่องเซิฟเวอร์อยู่ในสถานที่เดียวกับเรา จัดการได้ง่าย • สาย leased line เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในองค์กรกับอินเตอร์เน็ตได้ 24 ชม. • เหมาะสำหรับองค์กรใหญ่ มีผู้ใช้อินเตอร์เน็ตจำนวนมาก และมีการให้บริการข้อมูลผ่านเว๊บไวต์ ข้อเสีย • ค่าใช้จ่ายสูง และการรับส่งข้อมูลได้สูงสุดเท่ากับความเร็วสาย leased line • ต้องใช้บุคลากรที่เชี่ยวชาญ ในการจัดการด้านเทคนิค และการดูแลอุปกรณ์ ไม่ให้ “ล่ม” • ต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยค่อนข้างสูงมากสำหรับธุรกิจ e-commerce
เชื่อมต่อโดยใช้บริการ Co-location • เชื่อมต่อเครื่องเซิฟเวอร์เราไปฝากไว้ที่ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) • โดยจะเชื่อมต่อเข้ากับวงจรสื่อสารของผู้ให้บริการรายนั้นโดยตรง • ค่าใช้จ่ายน้อยกว่าวิธีแรกมาก เพราะไม่มีค่าใช้จ่าย leased line ข้อดี • ค่าใช้จ่ายถูกกว่าวิธีแรก • ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์เรา สามารถรับส่งข้อมูลได้ด้วยความรวดเร็วสูง ข้อเสีย • ติดต่อกับเครื่องเซิฟเวอร์ของเราผ่านโมเด็ม ซึ่งมีความเร็วจำกัด • การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในเว๊บไซต์ของเราที่อยู่ในเครื่องเซิฟเวอร์จะยากกว่ • ใช้เวลามากกว่าวิธีแรก
ขอพื้นที่ฟรีในเว็บเซิฟเวอร์(Web Hosting) • ไม่มีค่าใช้จ่าย • มีเครื่องมืออำนวยความสะดวกที่แตกต่างกันไป • จำกัดพื้นที่ • จำกัดในการติดต่อข้อมูล • หรืออาจจะมีเว็บบอร์ด สมุดเยี่ยม อีเมล์ ตัวนับ • ให้ทันทีเมื่อลงทะเบียนขอพื้นที่ • สำหรับผู้เริ่มต้นควรเลือกในส่วนที่สามารถใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด • ควรเลือกเว็บที่สนับสนุน CGI • คือรองรับภาษาสคริปต์ที่ใช้เขียนโปรแกรมต่าง ๆ • เช่น ASP, PHP, Perl, DHTML
Free Hosting • 100 Free.com 40 mb • Greatnow.com 100 mb • 1asphost.com 100 mb • 70megs.com 70 mb • Freeyellow.com 50 mb • Mysitespace.com 20 mb • Netfirms.com 25 mb • Sitepalace.com 8 mb
Free hosting • Geocities.com, • Xoom.com, • Fortunecities.com, • Tripod.com • Thai.net
ตัวอย่างบริษัทพัฒนา Web Server • Netscape • IIS • Webphere • Domino Server • Oracle Web Server • Cold Fusion
ข้อกำหนดลักษณะ Host โดยทั่วไป • ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลในเว็บไซต์ • โปรแกรมระบบปฏิบัติการ เช่น windows 2000 (Internet information server) , Linux (Apache), • โปรแกรมตัวแปลภาษา เช่น ASP,PHP • โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล เช่น SQL server (microsoft), MySQL (linux) • ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ (เช็คจากบริการ SSL) • ราคา
การทำ Mirroring • คือ การที่เจ้าของเว็บไซต์ทำสำเนาข้อมูลจากเว็บไซต์ของบริษัทโดยการเชื่อมต่อ (host) และอัพโหลด (Upload) ข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์หลักของ ไปไว้ที่คอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์เครื่องอื่นในบริเวณที่มีผู้ใช้บริการเว็บไซต์ของบริษัทหนาแน่น เพื่อให้ผู้ใช้บริการที่อยู่ในพื้นที่คนละฝั่งทวีปกับเว็บไซต์หลักสามารถดาวน์โหลดข้อมูลจากเว็บไซต์ของบริษัทได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
E-Commerce การจดทะเบียนโดเมนเนม (Domain Name Register)
2. การจดโดเมนเนม (Register a domain name) การจดทะเบียนชื่อโดเมนเสมือนการจดทะเบียนชื่อบริษัทในระบบปกติ การจดชื่อโดเมนจะไม่มีการซ้ำกันเนื่องจากมีหน่วยงานกลางในการดูแล การเลือกชื่อโดเมนเป็นเรื่องที่ยากในปัจจุบัน ซึ่งต้อง สั้น กระชับ จำง่าย และสื่อความหมายถึงสินค้าหรือบริการนั้นๆ ตัวอย่างหน่วยงาน • Register.com • Networksolution.com • Thainic.net
Domain Name คือ อะไร คือชื่อที่กําหนดขึ้นเพื่อใชในการอางอิงที่อยูบนเครือขายคอมพิวเตอร แทนการใชเลขหมายไอพี (IP Address) นั่นเอง โดยเลขหมายไอพีนั้น ถูกใชในการอางอิงที่อยูของเครื่องคอมพิวเตอรที่เชื่อมตออยูบนเครือขาย ชื่อที่ถูกเรียกแทนการเรียกเป็นหมายเลขอินเทอร์เน็ต (IP Address) เนื่องจากการจดจำหมายเลข IP ถึง 16 หลัก ทำให้ยุ่งยาก เช่นเว็บไซต์ของเนคเทค มีหมายเลข IP คือ 202.44.204.33 ซึ่งยากต่อการจดจำ (ในกรณีที่ต้องจำหลายเว็บไซต์) ดังนั้นจึงมีการกำหนดชื่อเรียกใหม่ เป็น www.nectec.or.th ซึ่งก็คือ "ชื่อโดเมน" นั่นเอง
Domain Name คือ อะไร ชื่อโดเมน เป็นชื่อที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลต่อบุคคล แต่การติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย ยังใช้ IP Address ดังนั้น ระบบจึงมีการติดตั้งโปรแกรม และเครื่องที่ทำหน้าที่เป็นตัว Lookup หรือดัชนี ในการเปิดดูบัญชีหมายเลข จากชื่อที่เป็นตัวอักษร หรือเรียกว่า Domain Name โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่นี้เรียกว่า Domain Name Server หรือ Domain Server
Domain Name คือ อะไร รูปแบบการตั้งชื่อของ Domain ตามหลักการของ Internet มีรูปแบบ 3 รูปแบบใหญ่ๆ คือ 1. โดเมนขั้นสูงสุด- Top Level Domain เป็นรูปแบบที่ยังสามารถแบ่งได้ อีก 2 แบบย่อย คือ 1.1 รูปแบบโดเมนขั้นสูงสุดแบบสากล (General Internet DNS Top Level Domains: gTLDs) เป็นรูปแบบมาตรฐานที่ใช้กัน โดยเฉพาะในอเมริกา เช่น .com, .net, .gov รูปแบบโดเมนขั้นสูงสุดแต่ละประเทศ (Country Code Top Level Domains: ccTLDs) 1.2 เป็นรูปแบบที่ใช้บ่งบอกถึงประเทศเจ้าของโดเมน หรือที่ตั้งของโดเมน มักจะใช้กับประเทศอื่นๆ ยกเว้นอเมริกา เช่น .th หมายถึงโดเมนที่ดูแลโดยประเทศไทย หรือ .jp หมายถึงโดเมนของประเทศญี่ปุ่น 2. โดเมนขั้นที่สอง- Second Level Domain 3. โดเมนขั้นที่ 3 - Third Level Domain
Domain Name คือ อะไร ตัวอย่าง www.footballreport.com ตำแหน่ง Internet address สำหรับ "www.footballreport.com" คือ 184.0.1.1 ชื่อ host serverคือ "www." Top - level domain nameคือ.com เป็นส่วนของชื่อโดเมนที่ระบุเป้าหมายขององค์กร (เช่น .com มาจาก commercial) Second - level domain nameคือ footballreport เป็นส่วนของ ชื่อโดเมนที่ระบุองค์กร ซึ่งเมื่อรวมระดับ Top-level แล้วเรียกว่าระดับ ชื่อโดเมนในระดับที่ 2 ซึ่งชื่อโดเมนในระดับที่ 2 เป็นชื่อที่สามารถเชื่อมต่อได้หรืออาจจะเรียกว่า เวอร์ชันที่อ่านได้ของ Internet address Third – levelเป็นการระบุรายละเอียดของ host server ในอินเตอร์เน็ต โดย www เป็นชื่อเครื่องแม่ข่ายที่อินเตอร์เน็ตติดต่อได้ ดังนั้นชื่อในระดับที่ 3 คือ www.footballreport.com
Domain Registration ขั้นตอนการจดทะเบียนโดเมนเนม (Domain Name Registration) • ตรวจสอบชื่อที่ต้องการใช้ว่ามีผู้อื่นจดทะเบียนไปหรือยัง • ลงทะเบียนเมื่อได้ลงทะเบียนจดโดเมนเนม ทาง InterNIC หรือ THnic จะประกาศว่าชื่อของท่านได้มีการจดทะเบียนแล้ว จากนั้นจะใช้เวลาประมาณ 1-3 วัน โดยทุก ISP จะต้องทำการอัพเดตข้อมูลเว็บไซต์บนตาราง DNS ก่อน หลังจากนั้นก็สามารถเรียกดูได้ทางอินเตอร์เน็ต โดยที่จดทะเบียน โดเมนเนม .com .net .biz .org .info ไม่ต้องใช้เอกสารใดๆ co.th จดทะเบียนโดเมนเนม สำหรับการพาณิชย์และธุรกิจ บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนผู้จด โดเมนเนม ภายใต้หมวดหมู่นี้จะต้องเป็นองค์กรพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศไทย การ จดทะเบียน โดเมน ภายใต้ ".CO.TH" ของแต่ละ บริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามารถกระทำได้เพียง 1 ชื่อ โดยชื่อที่ จดโดเมน ได้นอกเหนือจาก ชื่อ/ชื่อย่อ/ส่วนหนึ่งส่วนใดของชื่อบริษัท หรือจะต้องเป็นการค้า (Trademark) ที่มีการจดทะเบียนกับกรมทรัพย์สินทางปัญญา โดเมนเนม จำเป็นต้องตรงกับ เครื่องหมายการค้า/เครื่องหมายบริการทุกตัวอักษร โดเมนเนมที่จดทะเบียนจะต้องไม่เป็น ชื่อประเทศไทย เดี่ยวๆ เช่น thailand.co.th หรือชื่อจังหวัด เช่น bangkok.co.th เป็นต้น การจดทะเบียน โดเมน ที่เป็นชื่อ บริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด ต้องเป็นชื่อเต็ม/ชื่อย่อ/ส่วนหนึ่งส่วนใดของชื่อ บริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด นั้น ๆ และต้องแสดงหลักฐานการจัดตั้ง บริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ - ทะเบียนบริษัท (ท.ค.0401)- หนังสือรับรองบริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด - ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.20) - ใบคำร้องขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลด้านภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.09)- ทะเบียนประกอบธุรกิจของบริษัทต่างด้าวในประเทศไทย (ท.ค.0506)
Domain Registration in.th จดทะเบียนโดเมนเนม สำหรับหน่วยงานทุกประเภท และบุคคลทั่วไป หลักฐานสำหรับการ จดทะเบียนโดเมนเนมสำหรับองค์กร ใช้เอกสารการจัดตั้งองค์กร ที่ออกโดยทางราชการ สำหรับบุคคลทั่วไป ใช้บัตรประชาชน ใบขับขี่ หรือ หนังสืออนุญาตทำงานในประเทศไทย เอกสารทั้งหมดต้องมีลายเซ็นต์ของ Administrative Contact กำกับมาบนเอกสาร โดเมนเนมที่จดทะเบียนจะต้องไม่เป็น ชื่อประเทศไทย เดี่ยวๆ เช่น thailand.in.th หรือชื่อจังหวัด เช่น bangkok.in.th เป็นต้น .ac.th จดทะเบียนโดเมนเนม สำหรับสถาบันการศึกษาผู้สมัครขอลงทะเบียน โดเมนเนม ภายใต้หมวดหมู่นี้ จะต้องเป็นสถาบันการศึกษา ที่จดทะเบียนในประเทศไทย โดยจะจดทะเบียนโดเเมนเนม .ac.th ได้เพียง 1 ชื่อต่อ 1 องค์กร และชื่อที่ จดโดเมน ต้องเป็นชื่อเต็ม/ชื่อย่อ/ส่วนหนึ่งส่วนใดของชื่อสถาบันการศึกษา เอกสารที่ใช้ ในการ จดทะเบียนโดเมนเนม คือ หนังสือรับรองการจัดตั้งสถาบันศึกษา ซึ่งระบุชื่อสถานศึกษา สถานที่ตั้ง สังกัด และมีลายเซนต์ของผู้อำนวยการสถานศึกษานั้นๆ โดเมนเนมที่จดทะเบียนจะต้องไม่เป็น ชื่อประเทศไทย เดี่ยวๆ เช่น thailand.ac.th หรือชื่อจังหวัด เช่น bangkok.ac.th เป็นต้น or.th จดทะเบียนโดเมนเนม สำหรับองค์กรที่ไม่แสวงผลกำไร ผู้จดทะเบียน โดเมนเนม ภายใต้หมวดหมู่นี้จะต้องเป็นองค์กร สมาคม มูลนิธิ เอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียน โดเมนเนม คือ หนังสือจัดตั้งองค์กร เช่น หนังสือจัดตั้งสมาคม หรือ หนังสือจัดตั้งมูลนิธิ กรณีที่ไม่สามารถแสดงหนังสือจัดตั้งองค์กรได้นั้น รบกวนแสดงหนังสือซึ่งประกอบด้วย ประธาน, คณะกรรมการ, จุดประสงค์ที่เด่นชัด, ที่อยู่ที่แน่นอน และมีหน่วยงานที่เป็นที่รู้จักรับรองว่ามีหน่วยงานของท่านอยู่จริง
Domain Registration 3. หา web hosting Web Hosting คือ การใช้พื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของแต่ละเว็บไซต์ไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้ระบบปฏิบัติการในระดับที่เรียกว่า เซิร์ฟเวอร์ และอยู่ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือ Web hosting คือพื้นที่สำหรับจัดเก็บข้อมูล เช่น HTML,รูปภาพ หรือ โปรแกรมต่างๆ ไว้ที่ "เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) ซึ่งมีการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตตลอดเวลา (24 ชั่วโมง/ 7 วัน) Web Hosting" ทำหน้าที่ ในการแผยแพร่เว็บเพจของเราออกสู่ internet ให้ผู้อื่นเข้าชมได้ โดย Web Hosting จะเชื่อมต่อกับ Internet ตลอดเวลาเพื่อให้บริการเมื่อมีการเรียก ข้อมูลของ Web Site ที่จัดเก็บอยู่ นอกจากนี้ยังให้บริการ การใช้งานอีเมล์ หรือ Script ต่างๆ เป็นต้น
Domain Registration ข้อควรพิจารณาในการเลือกเซิร์ฟเวอร์ หรือ Web hosting • ขนาดพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล ต้องพอเพียงกับข้อมูลของ Web Site และ Email • ความเร็วในการรับส่งข้อมูล Web Hosting ที่ดีต้องมีความสามารถในการส่งข้อมูลได้รวดเร็ว โดยลักษณะการเชื่อมต่อ Web Hosting เข้ากับ Internet ต้องใช้เทคโนโลยีที่มีความเร็วสูง ซึ่งควรมีความเร็วรองรับการใช้งานกับทั้ง ในประเทศและ ต่างประเทศ • ปริมาณข้อมูลที่รับส่งได้ (Bandwidth) ปริมาณข้อมูลที่มีการรับส่งกับ Web Hosting มีมากน้อยเพียงใด • จำนวน e-mail ที่สามารถใช้ได้ เพื่อให้เจ้าของ Web Site สามารถกำหนด Email ในการติดต่องานต่างๆแยกจากกันเช่น ติดต่อข้อมูลใช้ info@ecomsiam.com ติดต่อกับฝ่ายขายใช้ sales@ecomsiam.com เป็นต้น • รองรับการใช้งานแอปพลิเคชั่นต่างๆ เช่น CGI, Pearl การสนับสนุนการใช้งานฐานข้อมูลต่างๆ เช่น SQL Server, ASP หรือ PHP ,ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลแบบ SSL (Secure Socket Layer) ในกรณีเว็บไซต์อีคอมเมอร์ส • ระบบ Backup ข้อมูล Web Hosting ที่ดีควรมีระบบสำรองข้อมูล(Backup) รายวัน เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจนข้อมูลของ Web Site สูญหาย • ราคาหรือค่าบริการ อัตราค่าบริการที่ Web Hosting เรียกเก็บเป็นรายเดือนจะขึ้นอยู่กับความสามารถของที่ต้องการ โดยทั่วไปผู้ให้บริการ Web Hosting จะมีบริการให้เลือกหลายรูปแบบ บางที่จะเรียกเก็บค่า Setup หรือค่าแรกเข้าเมื่อเริ่มใช้บริการ
ปฏิบัติ ตรวจสอบชื่อ domain name ของแต่ละกลุ่ม
อีคอมเมิร์ซ : เทคนิคการตั้งโดเมนเนม • สั้นๆ • จำง่าย • ได้ความหมายธุรกิจ • สะกดผิดยาก * ถ้าชื่อโดเมนเนมที่ได้ ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร “a” จะยิ่งช่วยให้มีโอกาสมากขึ้น เราไม่เคยเห็นร้านหนังสือ amazon.com แต่เราก็รู้วิธีที่จะไปทีร้านหนังสือแห่งนี้ และซื้อหนังสือได้ ทราบไม๊ครับว่า ทำไม ? โดเมนเนม คือสิ่งสำคัญที่สุด เพราะมันจะใช้แสดงความมีตัวตนของธุรกิจของคุณ
Read Your Domain name Carefully… ศิลปชัย WIN WINART ART .COM วินาศ
ตัวอย่าง tactic ของโดเมนเนม HOTMAIL.COM HTOMAIL.COM THAIMAIL.COM THAIMALE.COM ARZOO.COM AR + ZOO Desire AMAZON + YAHOO
โดเมนเนม (Domain Name) โดเมนเนม “ภาษาไทย” Sample : http://กสิกร.ธนาคาร.พาณิชย์.ไทย
3. การกำหนดเนื้อหา (Create and manage content) TextGraphicAudio FileVDO File
4. การออกแบบเว็บไซต์ (Web Design) การวางโครงสร้าง web page เพื่อง่ายต่อการดูแลและปรับปรุง • การจัดโครงสร้าง Web pages ที่ดี • เทคนิคการปรับปรุงเนื้อหา Web pages ที่จำเป็น • ความจำเป็นในการดูแล และปรับปรุงตลอดเวลา • ระยะเวลาปรับปรุงที่เหมาะสม • เนื้อหาที่ควรปรับปรุงเป็นประจำ
โครงสร้างเว็บไซต์ โครงสร้างแบบลำดับชั้น (Hierarchical) Homepag Member Customer Service Product Catalog About us My acc. FAQ Online Manual Pro.1 Pro. 2 Pro.3 Contact Shopping Payment
โครงสร้างเว็บไซต์แบบเส้นตรง (Linear) Tutorial Introduction Executive Summary Business description Market Analysis Competitor Analysis Operations Mission Statement Business Goals Project Objectives Competitor Analysis Grid
http://www.webmaster.or.th/event/webaward2004/winner/index.phphttp://www.webmaster.or.th/event/webaward2004/winner/index.php
5. การสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ (Web Site Construction) 1. ซื้อโปรแกรมประยุกต์แบบแพกเก็จ 2. เช่าระบบ 3. พัฒนาระบบเอง 4. จัดจ้างบริษัทอื่นพัฒนาให้ 5. ใช้บริการ ASP(ผู้ให้บริการระบบ EC) • ผู้ให้บริการระบบสารสนเทศ ASP (Application Service Providers : ASP) 6. อื่น ๆ –นำสินค้า-บริการไปฝากไว้กับเว็บ E-marketplace • เว็บประมูลสินค้า • ผสมผสาน โดยเลือกแต่ละวิธีที่ดีที่สุดมาใช้ หลาย ๆ วิธี
การสร้างเว็บเพจและ Graphic ที่จำเป็น • วิธีการสร้างเว็บเพจแบบ Reverse Engineeringเป็นวิธีการ “ลอกและดัดแปลง” ซึ่งเป็นวิธีการที่รวดเร็ว และง่ายที่สุด • เขียน Html เอง
โปรแกรมสำหรับการออกแบบโปรแกรมสำหรับการออกแบบ • โปรแกรมด้านกราฟฟิก เช่น Photo Shop • โปรแกรมสำหรับพัฒนา • Editor tools : Hoddog, Notepad • What you see What you get : Dream Weaver • โปรแกรมมัลติมีเดีย : ภาพเคลื่อนไหว กราฟฟิก เสียง วีดีโอ : Flash, Director, Authorware, Java
การเขียนโปรแกรม (Building) • การเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมในส่วนของการจัดการฐานข้อมูลสินค้า (Database) • ข้อมูลลูกค้า หรือผู้ที่มาเยี่ยมชม • เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการทำกลยุทธในการทำE-commerceต่อไป • นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มลูกเล่นอื่น เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ ความหลากหลายให้กับเว็บไซต์เพิ่มเติม ด้วยการใช้หลัการ Common GatewayInterface(CGI) ภาษาที่ใช้หลักการ CGI เช่น ASP, PHP, Perl, DHTML,Java Script
ASP : Application Service Providerผู้ให้บริการระบบสารสนเทศทางธุรกิจ • ลักษณะให้บริการครบวงจร • ให้คำปรึกษาด้านการวิเคราะห์ความต้องการระบบที่สอดคล้องกับลักษณะธุรกิจ • การวิเคราะห์และออกแบบระบบ EC • ติดตั้ง และดูแลระบบสารสนเทศ EC