690 likes | 1.79k Views
ระบบสาธารณสุขของประเทศไทยที่พึงประสงค์. แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554. นายแพทย์ชาตรี บานชื่น อธิบดีกรมการแพทย์ 29มีนาคม 2550 โรงแรมโนโวเทล ทิพย์วิมาน รีสอร์ท แอนด์ สปา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี . ทิศทางการพัฒนาสุขภาพ
E N D
ระบบสาธารณสุขของประเทศไทยที่พึงประสงค์ระบบสาธารณสุขของประเทศไทยที่พึงประสงค์ แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10พ.ศ. 2550-2554 นายแพทย์ชาตรี บานชื่น อธิบดีกรมการแพทย์ 29มีนาคม 2550 โรงแรมโนโวเทล ทิพย์วิมาน รีสอร์ท แอนด์ สปา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
ทิศทางการพัฒนาสุขภาพ ในยุคของการเปลี่ยนแปลง • การบริหารจัดการแนวใหม่ • แนวคิดและทิศทางการพัฒนาสุขภาพใหม่ • ระบบสาธารณสุขที่ • พึงประสงค์
การบริหารจัดการแนวใหม่การบริหารจัดการแนวใหม่ • การบริหารจัดการภาครัฐ • การพัฒนาระบบราชการ • การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
การวางแผนเพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศการวางแผนเพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ How คน สู่ความเป็นเลิศ ระบบ สู่ความเป็นเลิศ สั่งสมคนดี ส่งเสริมคนเก่ง ความเป็นมืออาชีพ รู้คนคือ มีคุณธรรม นำชีวิต รู้ถูกผิด รู้ชอบ รู้ศักดิ์ศรี รู้วินัย ใจสัตย์ซื่อ ถือความดี รู้วิถี มีจรรยา นำพาตน รู้งานคือ มืออาชีพ ในทุกสิ่ง รู้ให้จริง รู้แก้กัน ทันเหตุผล รู้คุณภาพรู้มาตรฐานงานสากล รู้ผ่อนปรนรู้จังหวะกะแนววาง องค์กร สู่ความเป็นเลิศ การบริหารจัดการที่ดี
Customer Driven Organization High Performance Organization Organization Mission-oriented Learning Organization Technology - based Organization ลักษณะขององค์การสมัยใหม่
Beyond Bureaucracy • ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางและยึดประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก • คิดเชิงยุทธศาสตร์ มุ่งไปข้างหน้า และเปิดมุมมองให้กว้าง • บริหารงานบนฐานขององค์ความรู้และข้อมูลสารสนเทศ • ทำงานเชิงรุก กล้าคิด กล้าทำ ท้าทาย ไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น • ยึดหลักบูรณาการ ไร้พรมแดนของหน่วยงาน • มีเป้าหมายในการทำงาน สามารถวัดผลสำเร็จได้อย่างชัดเจน • เน้นความรวดเร็ว เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ • เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ปรับตัวให้ทันโลกทันสมัย • แสวงหาและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่
พฎก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 3. มีประสิทธิภาพ/คุ้มค่า 1. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน 6. อำนวยความสะดวกตอบสนองความต้องการของประชาชน 4. ลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น 5. ปรับปรุงภารกิจ/โครงสร้างให้เหมาะสม เจตนารมณ์ตาม มาตรา 3/1
หลักนิติธรรม (Rule of Law) หลักคุณธรรม (Integrity) หลักความโปร่งใส (Transparent) ธรรมาภิบาล(GOOD GOVERNANCE) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) หลักความคุ้มค่า (Efficient Service) หลักความรับผิดชอบ (Accountability)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย • การปรับโครงสร้างระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารงานของกลุ่มภารกิจ และ การทำงานแบบเมตริกซ์ ) • การจัดองค์กรรูปแบบใหม่ ( องค์การ มหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ) • การสอบทานการใช้จ่ายเงิน และบทบาทภารกิจ • การเปิดโอกาสให้เอกชน/องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการเข้ามาแข่งขันในการให้บริการสาธารณะ(Contestability) • การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม และการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการถือครองทรัพย์สินของหน่วยงานในภาครัฐ ปรับบทบาท ภารกิจและขนาด ให้มีความหมาะสม • การมีส่วนร่วมของประชาชน • การตรวจสอบภาคประชาชน • ( People’s Audit ) • Lay Board • การสร้างเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ การพัฒนาระบบ ราชการเพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น พัฒนาระบบ ราชการให้เป็น ระบบเปิด • มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ • การออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ • การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และ ระเบียบขั้นตอนที่เป็นอุปสรรค • การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e- Service) • call center 1111 • ศูนย์บริการร่วม (Service Link) • การบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ • การวางยุทธ์ศาสตร์และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ • ระบบประเมินผล(Performance Scorecard) • การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ • มาตรการสร้างแรงจูงใจ ยกระดับ ขีดความสามารถ และมาตรฐาน การทำงาน ให้อยู่ระดับสูง • การบริหารการเปลี่ยนแปลง • ผู้นำการเปลี่ยนแปลง /ทีมงานบริหารการ เปลี่ยนแปลง • การเรียนรู้ผ่านสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์ • เพื่อการเปลี่ยนแปลง • วิทยากรตัวคูณการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ : • I AM READY • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐสู่ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ • (GFMIS) • นักบริหารที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ • นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ • การปรับปรุงเงินเดือนและค่าตอบแทน
ราชการยุคใหม่ ยึดประชาชนเป็นเป้าหมาย ทำงานที่โปร่งใส บริการมีคุณภาพสูง ตรวจสอบได้ ประสิทธิภาพสูง ทำงานแบบ มีวัฒนธรรม มีเจ้าหน้าที่ มุ่งผลสัมฤทธิ์ คุณภาพสูง การทำงานเป็นทีม ทำเฉพาะ ใช้อุปกรณ์ มีองค์กรที่ มีระบบบริหาร บทบาทที่จำเป็น คล่องตัว กะทัดรัด บุคคลที่คล่องตัว ที่ทันสมัย
วัฒนธรรมและค่านิยมของข้าราชการวัฒนธรรมและค่านิยมของข้าราชการ ในกระแสการเปลี่ยนแปลง Integrity Activeness Morality Relevancy Efficiency Accountability Democracy Yield ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี ขยัน ตั้งใจ ทำงานเชิงรุก มีศีลธรรม คุณธรรม ปรับตัวได้ทันโลก มุ่งเน้นประสิทธิภาพ รับผิดชอบต่อผลงานต่อสังคม มีใจและการกระทำ เป็นประชาธิปไตย มีผลงาน มุ่งเน้นผลงาน
แนวคิดและทิศทาง การพัฒนาสุขภาพใหม่ • สุขภาพสู่สุขภาวะองค์รวม • สร้างนำซ่อม - การส่งเสริมสุขภาพ จาก Ottawa สู่ Bangkok Charter – Health for All สู่ All for Health • การบริหารแบบบูรณาการ – การบริหารคุณภาพ • องค์กรแห่งการเรียนรู้ – การจัดการความรู้ • พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 (ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 124 ตอนที่ 16 ก วันที่ 19 มีนาคม 2550) • แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 10 พ.ศ.2550-2554 • แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550-2559 • นโยบายด้านสุขภาพ • การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
กฎบัตรออตตาวาว่าด้วย การส่งเสริมสุขภาพ • เพิ่มความสามารถของชุมชน สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ • พัฒนา • ทักษะ • ส่วนบุคคล • กลยุทธ์การสร้างสุขภาพ • Enable • Mediate • Advocate ปรับระบบบริการสุขภาพ สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
Build capacity Partner • Global • Government • Community • Corporate Advocate Invest Regulate & legislate Bangkok Charter
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ต่อการให้บริการด้านสุขภาพการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ต่อการให้บริการด้านสุขภาพ Rightsizing Good Governance Better Service Quality PeopleParticipation High Performance • Restructuring (Clustering & Matrix system • Agencification (APO & SDU) • Comprehensive review • Contestability (market testing) • ABC & capital charges • People’s audit • Paradigm shift • Networking • Service standard • Work process redesign • Deregulation • E-services • Call center 1111 • Service Link (Integrated Customer Solutions) • Managing for results (business-like approach) • Strategy driven • Performance Scorecard • Performance agreement & review • Incentive package • Change management • Change leaders & facilitators • E-learning for change • I AM READY • Strategic posts • Young executives • Remuneration • E-government • GFMIS
การบริหารแบบบูรณาการ (Integrated Management) การบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบบูรณาการ - การบริหารแบบองค์รวม (Holistic Management) - การบริหารเชิงราบ (Horizontal Management) - การบริหารเชิงการประสานงาน (Coordination Based Management)
การบูรณาการนโยบายและแผนการบูรณาการนโยบายและแผน - การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management) - การจัดสรรงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ตามยุทธศาสตร์ (Result Based Budgeting) - การประเมินผลสัมฤทธิ์ (Result Based Measurement / Evaluation)
กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ สศช. การ รับรอง การ ปฏิบัติ ราชการ เป้าหมายยุทธศาสตร์หน่วยงาน กพร. สงป. ผลผลิต/กิจกรรมหลัก/งบประมาณ (แผนปฎิบัติการ) การบูรณาการ RBM ของ 3 หน่วยงาน
การบูรณาการใน 3 มิติ การวางแผน ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ การนำ ยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ การติดตาม กำกับ ประเมินผล ยุทธศาสตร์เฉพาะ ของรัฐบาล (Agenda) ระดับชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง (Function) ระดับกระทรวง ยุทธศาสตร์พื้นที่ (Area) ระดับจังหวัด
Excellent Center Tertiary Medical Care Tertiary Care (3 Care) Secondary Care (2 Care) Primary Care (1 Care) Referral Center Secondary Medical Care Special Care Referral System Primary Medical Care General Practice Family Practice Primary Health Care Self-Care Holistic Care IntegratedCare Continuous Care คุณภาพบริการ เชื่อมโยง ไม่มีช่องว่าง ไม่ซ้ำซ้อน ระบบบริการสุขภาพแบบบูรณาการ (Integrated Health Care System)
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แบบเครือข่าย • บนหลักการ • ประกันคุณภาพ • ประกันราคา • เข้าถึงบริการ • บริการระดับสูง ต้อง • คุ้มค่าการลงทุน • ความเชี่ยวชาญเฉพาะ • เป็นเครือข่ายบริการ 2 ล้านคน Ex. Cent. 1 ล้านคน ตติยภูมิ 2 แสนคน ทุติยภูมิ ระดับ 3 8 หมื่นคน ทุติยภูมิ ระดับ 2 3-5 หมื่นคน ทุติยภูมิ ระดับ 1 ปฐมภูมิ 1 หมื่นคน บริการระดับต้น ประชาชน-ท้องถิ่น ดำเนินการได้ ท้องถิ่น ชุมชน ครอบครัว ตนเอง แพทย์ระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ ระดับต้น 1: 10,000 GP:SP = 40:60
การจัดเครือข่ายบริการสุขภาพและการประกันคุณภาพบริการการจัดเครือข่ายบริการสุขภาพและการประกันคุณภาพบริการ บริการเฉพาะ มาตรฐานบริการ เฉพาะทางพิเศษ บริการตติยภูมิ เฉพาะทาง มาตรฐานบริการเฉพาะทาง ทุติยภูมิ CUP หน่วยบริหารเครือข่าย มาตรฐานสถานพยาบาล (ต่ำสุด 10-30 เตียง) มาตรฐานคุณภาพ มาตรฐานคู่สัญญาปฐมภูมิ PCU PCU โครงสร้าง บุคลากร บริการ การจัดการ PCU
TQM Total Quality Management QA Quality Assurance ISO International Organizaton for Standard HA Hospital Accreditation PHSS Public Health Service Standard Thailand International Public Sector Standard Management System and Outcomes หรือ Thailand International P.S.O. PSO LO Learning Organization
5 สิ่งใหม่ เมื่อมี พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ 1. ให้ความหมาย “สุขภาพ”อย่างกว้างและกำหนดสิทธิหน้าที่ด้านสุขภาพเพิ่มเติม 2. กำหนดให้มีกลไกระดับชาติ คือ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) เป็นเครื่องมือให้ทุกฝ่ายในสังคมเข้ามาร่วมกันดูแลระบบสุขภาพโดยไม่มีอำนาจสั่งการ บังคับบัญชา 3. มีสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.)ทำ หน้าที่องค์กรเลขานุการ ของ คสช. 4. กำหนดให้มีเครื่องมือสำคัญ คือ สมัชชาสุขภาพ 5. กำหนดให้ คสช. จัดทำ “ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ” เพื่อกำหนดทิศทางนโยบายยุทธศาสตร์และการดำเนินงานต่างๆ ในระบบสุขภาพแห่งชาติ
หน่วยงานส่วนภูมิภาค อปท. รัฐสภา ครม. สภาที่ปรึกษา สภาพัฒน์ฯ • ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ สช. • ให้ข้อเสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ สสส. • บริหารกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงอื่นๆ ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับสุขภาพ • สมัชชาสุขภาพ สปสช. สวรส • สร้างความรู้ • เชิงระบบ • บริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ • ดำเนินงานด้านสุขภาพ เครือข่าย วิชาการ วิชาชีพ เครือข่าย ประชาคมและภาคีสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่าย สื่อมวลชน เครือข่ายอื่นๆ ความเชื่อมโยงของกลไกต่างๆ ในระบบสุขภาพแห่งชาติ มค.50
ภาพสรุปแสดงสาระ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ สิทธิ และ หน้าที่ ด้านสุขภาพ การมีส่วนร่วมของประชาชนทุกระดับในระบบสุขภาพ “สุขภาพ” อุดมการณ์ของชาติ “สร้างนำซ่อม” • คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.), สมัชชาสุขภาพ • การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ • ปรัชญา แนวคิดระบบสุขภาพ • ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ • การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ • คุณลักษณะที่พึงประสงค์และเป้าหมายระบบสุขภาพ • การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพ • หลักประกัน และความคุ้มครองสุขภาพ • การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ • การสร้างเสริมสุขภาพ • การผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุข • การป้องกันและควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ • การเงินการคลังด้านสุขภาพ • การบริการสาธารณสุขและการควบคุมคุณภาพ
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10พ.ศ. 2550-2554 แผนสุขภาพประชาชาติเพื่อสุขภาพประชาชนไทย สู่ระบบสุขภาพพอเพียงตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อ) ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ ความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วย ความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม นำสู่ สมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง & ความพอเพียง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีเหตุผล เงื่อนไขคุณธรรม(ซื่อสัตย์สุจริต-มีคุณธรรม) เงื่อนไขหลักวิชา (ใช้หลักวิชาวางแผน-ปฏิบัติ) เงื่อนไขชีวิต(ขยัน-อดทน-สติ-ปัญญา) ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/การเมือง สมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน/พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
แนวคิดหลัก • น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพ • สุขภาพดีมาจากสังคมดี คือสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข • สุขภาวะหรือสุขภาพดีของทุกคนเป็นศีลธรรมของสังคมเพราะหัวใจของสุขภาวะคือการเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ • แผนนี้นำเสนอวิสัยทัศน์อันเป็นอุดมคติ ทุกคนที่เห็นด้วยกับแนวคิดสุขภาพในแผนนี้ที่จะต้องถือเป็นหน้าที่ที่จะช่วยผลักดันทุกวิถีทางให้วิสัยทัศน์เกิดเป็นจริง
วิสัยทัศน์ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society) ภายใต้แนวปฏิบัติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระบบสุขภาพไทย มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง เพื่อสร้างให้: สุขภาพดีบริการดีสังคมดี ชีวิตมีความสุขอย่างพอเพียง
พันธกิจหลัก • สร้างเอกภาพทางความคิด • สร้างจิตสำนึกสุขภาพใหม่ • สร้างระบบจัดการที่โปร่งใส • สร้างกลไกการมีส่วนร่วมในการพัฒนา
วัตถุประสงค์ • สร้างสุขภาพดีให้เป็นวิถีชีวิต ในทุกช่วงวัยตั้งแต่ครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน โดยเน้นความพอเพียงทางสุขภาพระดับครอบครัว และชุมชน • สร้างระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ เป็นมิตร ใส่ใจในความทุกข์ และมีความละเอียดอ่อนต่อความเป็นมนุษย์ • สร้างหลักประกันด้านสุขภาพที่ให้ความอุ่นใจและความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต ทั้งยามปกติ ยามเจ็บป่วย และยามวิกฤต • เป็นสังคมเรียนรู้ อุดมด้วยภูมิปัญญาสุขภาพ มีวัฒนธรรมที่เกื้อกูลต่อสุขภาวะ
ระบบสุขภาพพอเพียง : ภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ • มีรากฐานที่เข้มแข็งจากการมีความพอเพียงทางสุขภาพในระดับครอบครัวและชุมชน • มีความรอบคอบและรู้จักประมาณอย่างมีเหตุผลในด้านการเงินการคลังเพื่อสุขภาพในทุกระดับ • มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและใช้อย่างรู้เท่าทัน โดยเน้น ภูมิปัญญาไทยและการพึ่งตนเอง • มีบูรณาการด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพและคุ้มครองผู้บริโภค • มีระบบภูมิคุ้มกันที่ให้หลักประกันและคุ้มครองสุขภาพ • มีคุณธรรม จริยธรรมคือซื่อตรง ไม่โลภมาก และรู้จักพอ
เป้าหมายหลักในการพัฒนา ระบบสุขภาพพอเพียง 1. เอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพที่สมดุลและยั่งยืน 2. งานสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกที่สามารถสร้างปัจจัยพื้นฐานของการมีสุขภาพดี 3. วัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่มีความสุขพอเพียงอย่างเป็นองค์รวม 4. ระบบสุขภาพชุมชนและเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่เข้มแข็ง 5. ระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ มีการใช้เทคโนโลยีอย่างพอประมาณตามหลักวิชาการอย่างถูกต้อง เหมาะสม ทำให้ผู้รับบริการอุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข
เป้าหมายหลักในการพัฒนา ระบบสุขภาพพอเพียง (ต่อ) 6. หลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรม ทั่วถึง มีคุณภาพ 7. ระบบภูมิคุ้มกันและความพร้อมรองรับเพื่อลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพได้อย่างทันการณ์ 8. ทางเลือกสุขภาพที่หลากหลายผสมผสานภูมิปัญญาไทยและสากลอย่างรู้เท่าทันและพึ่งตนเองได้ 9. ระบบสุขภาพฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้อย่างมีเหตุผลรอบด้าน 10. สังคมที่ไม่ทอดทิ้งคนทุกข์ยาก เป็นสังคมที่ดูแลรักษาคนจน คนทุกข์คนยาก และผู้ด้อยโอกาสอย่างเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
กรอบความสัมพันธ์ของแนวคิด วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพและการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : สร้างเอกภาพและธรรมาภิบาล ในการจัดการระบบสุขภาพ วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน” ยุทธศาสตร์ที่ 2 : สร้างวัฒนธรรมสุขภาพ และวิถีชีวิตที่มีความสุข ในสังคมแห่งสุขภาวะ ยุทธศาสตร์ที่ 4 : สร้างระบบภูมิคุ้มกัน เพื่อลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ คน เป็นศูนย์กลาง การพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 3 : สร้างระบบบริการสุขภาพ และการแพทย์ที่ผู้รับบริการ อุ่นใจ ผู้ให้บริการมี ความสุข ยุทธศาสตร์ที่ 5 : สร้างทางเลือกสุขภาพ ที่หลากหลายผสมผสานภูมิปัญญาไทยและสากล “ระบบสุขภาพพอเพียง” สุขภาพดี บริการดี สังคมดี ชีวิตมีความสุขอย่างพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 6 :สร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้ แนวคิดหลัก:ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง & สุขภาพดีเป็นผลจากสังคมดี
กรอบแนวคิดการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพกรอบแนวคิดการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ Health Needs Epidemiological / Demographic change Macroeconomic Policies Globalization International trade Social Reform Health Service Utilization HRD Planning Production Decade of HRH Strategic Plan
เป้าหมายและยุทธศาสตร์ทศวรรษการพัฒนากำลังคนเป้าหมายและยุทธศาสตร์ทศวรรษการพัฒนากำลังคน ด้านสุขภาพ พ.ศ.2550-2559 เป้าหมาย กำลังคนด้านสุขภาพที่มีความเพียงพอ ทั้งปริมาณและคุณภาพ มีการกระจายตัว ที่เป็นธรรม และสามารถทำงานอย่างมีความสุข ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากลไกการกำหนด นโยบายและยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับเปลี่ยนระบบการผลิตและพัฒนากำลังคน ยุทธศาสตร์ที่ 5 สร้างความเข้มแข็งของ ภาคประชาชนสังคม ในการดูแลสุขภาพ ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ 1. พลวัตรของการเปลี่ยนแปลงความต้องการ ด้านสุขภาพ 2. การปรับเปลี่ยนบทบาทและหน้าที่ของกำลัง คนด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม 3. การเชื่อมโยงจากนโยบายสู่การปฏิบัติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ปรับเปลี่ยนระบบบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างและจัดการ ความรู้สู่การพัฒนา
4 ลักษณะ 1 อปท.เป็นผู้เซื้อบริการ 2 อปท.ดำเนินการร่วมกับส่วนกลาง/ภูมิภาค3 อปท.ดำเนินการเองบางส่วน 4 อปท.ดำเนินการทั้งหมด การกระจายอำนาจ ด้านสุขภาพ 2 ขอบเขตภารกิจที่จะถ่ายโอน 1 ลักษณะภารกิจได้แก่ รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู 2 ความกว้างขวางครอบคลุมของภารกิจอาจเป็นกิจกรรมที่บริการเฉพาะบุคคล/ครอบครัว/ชุมชน 4 รูปแบบ 1ถ่ายโอนแบบแยกส่วน 2 ถ่ายโอนเป็นเครือข่ายบริการ 3 องค์กรมหาชน 4 หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ SDU 3 หลักการ 1มุ่งประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน 2 มุ่งระบบที่ยืดหยุ่นและมีพลวัตร 3 มุ่งระบบที่มีส่วนร่วม 4 เงื่อนไข 1บุคลากร 2 ระบบการเงิน 3 ระบบบริการสุขภาพ 4 ภาวะฉุกเฉิน วิกฤติ 2 กลไกและกระบวนการ 1 กลไก/กระบวนการตัดสินใจ 2 กลไก/กระบวนการสนับสนุน
นโยบายรัฐบาล ด้านสังคม 3.4 การพัฒนาสุขภาวะของประชาชนให้ครอบคลุมทั้ง มิติทางกายจิตสังคมและปัญญา โดยการปฏิรูประบบสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมที่เน้นการมีส่วนร่วมและพัฒนาระบบบริการสุขภาพทั้งยามปกติและฉุกเฉินที่สมดุลทั้งการเสริมสร้างสุขภาพการป้องกันโรคการบริการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างมีคุณภาพทั่วถึงและเป็นธรรมและจะเสนอให้มีการออกพระราชบัญญัติสุขภาพ
นโยบายรัฐบาล ด้านเศรษฐกิจ 2.1.2 ผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจะได้รับการสนับสนุน ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค 2.1.3 แรงงาน…แรงงานทุกกลุ่ม…ได้รับการคุ้มครอง และดูแลด้านสุขอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน... ข้ออื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 ส่งเสริมความรักความสามัคคีความสมานฉันท์ ของคนในชาติ 3.2 จัดทำแผนปฏิรูปสังคมอยู่เย็นเป็นสุข 3.6 ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจังและ ต่อเนื่องการดูแลเด็กเยาวชนคนพิการ คนสูงอายุและผู้ด้อยโอกาส
เป้าหมายสำคัญ ตามนโยบายรัฐบาลด้านสุขภาพ 1. การออกกฎหมายเพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพในระยะยาว โดยการ ประกาศใช้ พ.ร.บ.ที่สำคัญอย่างน้อย 6 ฉบับ - พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ - พ.ร.บ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - พ.ร.บ. ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน - พ.ร.บ. ชดเชยค่าเสียหายแก่ผู้ป่วยโดยไม่ต้อง พิสูจน์ ความถูกผิด - พ.ร.บ. ปรับโครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข - พ.ร.บ. อื่น ๆ เช่น พ.ร.บ. สถาบันพระบรมราชชนก, พ.ร.บ.อาหาร,พ.ร.บ. ยา ฯ
เป้าหมายสำคัญ ตามนโยบายรัฐบาลด้านสุขภาพ 2. การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า - พัฒนาให้ผู้รับบริการและผู้ให้บริการมีความพึงพอใจ มีความสุขและมีระบบการเงินการคลังสนับสนุน หน่วยงานต่อเนื่องและยั่งยืน 3. พัฒนายุทธศาสตร์และกลไกจำเพาะด้านสุขภาพเพื่อ สนับสนุนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของประเทศ ในการแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ - มีศูนย์บริหารการพัฒนาสุขภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงกับ ศอ.บต. 4. การจัดการปัญหาทุจริตที่สำคัญและเป็นที่สนใจของสังคม - จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อแก้ไขปัญหาทุจริตที่สำคัญ ให้แล้วเสร็จอย่างเป็นธรรม
เป้าหมายสำคัญ ตามนโยบายรัฐบาลด้านสุขภาพ 6. การจัดตั้งโรงงานผลิตวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 5. การพัฒนาและทดลองรูปแบบการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ - พัฒนาระบบและกลไกที่เหมาะสมให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นโดยมีโครงการนำร่องในบางพื้นที่และ มีการออก พรฎ. เพื่อการจัดตั้งองค์การมหาชนในบาง รพ. - มีการจัดตั้งโรงงานผลิตวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ 7. การฟื้นฟูวัฒนธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม - มีการจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อคัดเลือกผู้บริหาร ระดับจังหวัดที่มีลักษณะเป็นมืออาชีพ โดยเน้นความโปร่งใส
ระบบสาธารณสุขที่พึงประสงค์ระบบสาธารณสุขที่พึงประสงค์ • มีพอเพียง เข้าถึงได้สะดวก (Sufficient&Available & • Accessibility) • มีความเป็นธรรม เสมอภาค เท่าเทียมกัน (Equity & Equality) • มีคุณภาพ มาตรฐาน (Quality & Standard) • มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ (Effectiveness & Efficiency) • ประหยัด จ่ายได้ (Economy& Affordable) • เรียบง่าย (Simplicity) • มีทางเลือกให้ผู้ใช้บริการ (Customer’s choices) • พึงใจ เคารพไว้วงใจ เชื่อถือศรัทธา (Acceptable & • Respectability & Trust) • มีการจัดการเปิดเผยโปร่งใสตรวจสอบได้ (Transparence & • Accountability) • มีการพัฒนาโดยใช้ความรู้เป็นฐาน (Knowledge Based) • มีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน สังคม (Participation & • Involvement) • มีความรับผิดชอบ (Responsibility) • พึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน (Self- Reliant & Sustainable)