580 likes | 869 Views
Oral Health Service Plan. เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6. เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6. ผศ.พิเศษ ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6. นพ. ธำรงค์ สมบุญ ตนนท์ สาธารณสุข นิเทศก์ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6. นายประสิทธิ์ คงนิสัย ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการฯ
E N D
Oral Health Service Plan เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6
ผศ.พิเศษ ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6
นพ.ธำรงค์ สมบุญตนนท์ สาธารณสุขนิเทศก์ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 นายประสิทธิ์ คงนิสัย ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการฯ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6
ประธาน Service Plan สาขาทันตกรรม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี
Main Activity ที่สำคัญ/จุดAttack ๑. ลดความแออัดของบริการทันตกรรมใน รพ.เขตเมือง ๒. เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันและรักษาพื้นฐาน (บริการปฐมภูมิ) ของประชาชนในชนบท ๓. การส่งต่อผู้ป่วยทันตกรรมที่มีความซับซ้อน
สรุปเป้าหมายดำเนินงานปี ๒๕๖๐ • ลดอัตราป่วย • เด็กอายุ ๓ ปีมีฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ ๕๐ • ลดระยะเวลารอคอย (คิว) • ผู้สูงอายุรอคิวทำฟันเทียม ไม่เกิน ๖ เดือน • เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก • ประชาชนทุกกลุ่มเข้าถึงบริการฯ ร้อยละ ๒๐
ข้อมูลประชากรแยกตามสิทธิข้อมูลประชากรแยกตามสิทธิ
จำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐจำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ
จำนวนทันตบุคลากรและยูนิตทันตกรรม เปรียบเทียบจำนวนตามเกณฑ์
จำนวน รพ.สต.และศสม. ที่มีทันตาภิบาล ยูนิตทันตกรรม
แสดงจำนวนทันตแพทย์เฉพาะสาขาทางทันตกรรม ของสถานบริการสุขภาพ
ฟันผุในเด็กปฐมวัย เป้าหมาย <50% ในปี 2560
ฟันผุในเด็กวัยเรียน เป้าหมาย <55%
รายโรคที่สำคัญ ๑.ฟันผุในเด็กปฐมวัย ๒.การสูญเสียฟันผู้สูงอายุ ๓. มะเร็งช่องปาก ๔.ปากแหว่งเพดานโหว่ ๕. Trauma ในขากรรไกรและใบหน้า
OHSP SRM
SRM วิสัยทัศน์ : ประชาชนมีทันตสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วม ด้วยเครือข่ายบริการสุขภาพที่เข้มแข็ง • เป้าประสงค์..ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรค • พัฒนาระบบเฝ้าระวังและคัดกรอง • พัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีชุมชน • สร้างแกนนำทันตสุขภาพในชุมชน • เป้าประสงค์.เด็กปฐมวัยและวัยเรียนมีอัตราการเกิดฟันผุลดลง. • เร่งรัดการแก้ไขปัญหาการบริโภคอาหารเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ • ส่งเสริมให้เกิดนโยบายสาธารณะ/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ • สร้างกระแสการลดปัจจัยเสี่ยงต่อทันตสุขภาพในทุกระดับ ประชาชน เป้าประสงค์..แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาทันตฯ • พัฒนา อสม.ให้เป็นแกนนำด้านทันตฯ • พัฒนาชมรม ผสอ.ให้มีทักษะในการดูแลทันตฯเด็ก • สนับสนุนให้เอกชน/ภาคอื่นๆร่วมจัดบริการ เป้าประสงค์..ศูนย์วิชาการมีส่วนสนับสนุนการดำเนินงาน • สนับสนุนการพัฒนางานวิชาการ/วิจัย • ติดตามกำกับประเมินผล • พัฒนาศักยภาพ/องค์ความรู้ เป้าประสงค์..อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพ(ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข • สนับสนุนให้เกิดแผนพัฒนาทันตฯระดับตำบล • สนับสนุนทรัพยากรในการจัดบริการปฐมภูมิร่วมกับ สธ • จัดระบบติดตามกำกับประเมินผล. เป้าประสงค์..โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตฯ • พัฒนาการดำเนินงานในรูปแบบเครือข่าย รร. • บูรณาการ ทันตฯในการเรียนการสอน • กำหนดนโยบาย/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตฯ • พัฒนาระบบเฝ้าระวังทันตฯและประเมินผล ภาคี • เป้าประสงค์.หน่วยบริการปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ/ตติยภูมิมีศักยภาพในการจัดบริการทันตกรรมอย่างมีคุณภาพ • ขยายบริการปฐมภูมิ(ทันตกรรมป้องกันและอนุรักษ์ฟัน)ใน รพ.สต. และ ศสม.ให้ครอบคลุม • พัฒนามาตรฐาน/คุณภาพการจัดบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ • สนับอัตรากลัง และครุภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ ตามมาตรฐานทุกระดับ • เป้าประสงค์.มีระบบติดตามกำกับและประเมินผล. • จัดทำมาตรฐานการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันทันตฯในระดับปฐมภูมิ • พัฒนาทักษะบุคลากรในการกำกับติดตาม และประเมินผล • พัฒนาระบบติดตามกำกับประเมินผลในทุกระดับ กระบวนการ • เป้าประสงค์..มีฐานข้อมูลทันตสุขภาพ และปัจจัยกำหนดทันตสุขภาพ • จัดทำฐานข้อมูลทันตสุขภาพของเครือข่ายบริการ • ขยายระบบข้อมูลเฝ้าระวังทันตฯในระดับตำบล • พัฒนาช่องทางการเข้าถึงแหล่งข้อมูล • พัฒนาระบบการจัดการความรู้ในด้านทันตสุขภาพ • เป้าประสงค์.ทันตบุคลากรมีทักษะในการจัดการงานทันตสาธารณสุข • เร่งรัดในการพัฒนาให้มีทักษะในการบริหารจัดการเครือข่าย • พัฒนาทักษะในการดำเนินงานเชิงรุกร่วมกับชุมชน • พัฒนาทักษะในการจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีด้านทันตสาธารณสุข รากฐาน
เป้าประสงค์มีฐานข้อมูลทันตสุขภาพ และปัจจัยกำหนดทันตสุขภาพ • จัดทำฐานข้อมูลทันตสุขภาพของเครือข่ายบริการ • ขยายระบบข้อมูลเฝ้าระวังทันตฯในระดับตำบล • พัฒนาช่องทางการเข้าถึงแหล่งข้อมูล • พัฒนาระบบการจัดการความรู้ในด้านทันตสุขภาพ
เป้าประสงค์ทันตบุคลากรมีทักษะในการจัดการงานทันตสาธารณสุขเป้าประสงค์ทันตบุคลากรมีทักษะในการจัดการงานทันตสาธารณสุข • เร่งรัดในการพัฒนาให้มีทักษะในการบริหารจัดการเครือข่าย • พัฒนาทักษะในการดำเนินงานเชิงรุกร่วมกับชุมชน • พัฒนาทักษะในการจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีด้านทันตสาธารณสุข
เป้าประสงค์หน่วยบริการปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ/ตติยภูมิมีศักยภาพในการจัดบริการทันตกรรมอย่างมีคุณภาพเป้าประสงค์หน่วยบริการปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ/ตติยภูมิมีศักยภาพในการจัดบริการทันตกรรมอย่างมีคุณภาพ • ขยายบริการปฐมภูมิ(ทันตกรรมป้องกันและอนุรักษ์ฟัน)ใน รพ.สต. และ ศสม.ให้ครอบคลุม • พัฒนามาตรฐาน/คุณภาพการจัดบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ • สนับอัตรากลัง และครุภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ ตามมาตรฐานทุกระดับ
เป้าประสงค์มีระบบติดตามกำกับและประเมินผล.เป้าประสงค์มีระบบติดตามกำกับและประเมินผล. • จัดทำมาตรฐานการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันทันตฯในระดับปฐมภูมิ • พัฒนาทักษะบุคลากรในการกำกับติดตาม และประเมินผล • พัฒนาระบบติดตามกำกับประเมินผลในทุกระดับ
เป้าประสงค์อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพ(ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข • สนับสนุนให้เกิดแผนพัฒนาทันตฯระดับตำบล • สนับสนุนทรัพยากรในการจัดบริการปฐมภูมิร่วมกับ สธ • จัดระบบติดตามกำกับประเมินผล.
เป้าประสงค์โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตฯเป้าประสงค์โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตฯ • พัฒนาการดำเนินงานในรูปแบบเครือข่าย รร. • บูรณาการ ทันตฯในการเรียนการสอน • กำหนดนโยบาย/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตฯ • พัฒนาระบบเฝ้าระวังทันตฯและประเมินผล
เป้าประสงค์แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาทันตฯเป้าประสงค์แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาทันตฯ • พัฒนา อสม.ให้เป็นแกนนำด้านทันตฯ • พัฒนาชมรม ผสอ.ให้มีทักษะในการดูแลทันตฯเด็ก • สนับสนุนให้เอกชน/ภาคอื่นๆร่วมจัดบริการ
เป้าประสงค์ศูนย์วิชาการมีส่วนสนับสนุนการดำเนินงานเป้าประสงค์ศูนย์วิชาการมีส่วนสนับสนุนการดำเนินงาน • สนับสนุนการพัฒนางานวิชาการ/วิจัย • ติดตามกำกับประเมินผล • พัฒนาศักยภาพ/องค์ความรู้
เป้าประสงค์เด็กปฐมวัยและวัยเรียนมีอัตราการเกิดฟันผุลดลง.เป้าประสงค์เด็กปฐมวัยและวัยเรียนมีอัตราการเกิดฟันผุลดลง. • เร่งรัดการแก้ไขปัญหาการบริโภคอาหารเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ • ส่งเสริมให้เกิดนโยบายสาธารณะ/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ • สร้างกระแสการลดปัจจัยเสี่ยงต่อทันตสุขภาพในทุกระดับ
เป้าประสงค์ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคเป้าประสงค์ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรค • พัฒนาระบบเฝ้าระวังและคัดกรอง • พัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีชุมชน • สร้างแกนนำทันตสุขภาพในชุมชน
SLM จุดหมายปลายทาง : เด็กปฐมวัย และเด็กวัยเรียนมีทันตสุขภาพดี • เป้าประสงค์..ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรค • พัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีชุมชน • เป้าประสงค์.เด็กปฐมวัยและวัยเรียนมีอัตราการเกิดฟันผุลดลง. • สร้างกระแสการลดปัจจัยเสี่ยงต่อทันตสุขภาพในทุกระดับ ประชาชน เป้าประสงค์..อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพ(ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข) เป้าประสงค์..โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตฯ เป้าประสงค์..แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาทันตฯ ภาคี เป้าประสงค์..ศูนย์วิชาการมีส่วนสนับสนุนการดำเนินงาน เป้าประสงค์.หน่วยบริการปฐมภูมิมีศักยภาพในการจัดบริการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากอย่างมีคุณภาพ • ขยายบริการฯใน รพ.สต.และ ศสม.ให้ครอบคลุม กระบวนการ เป้าประสงค์.มีระบบติดตามกำกับและประเมินผล. • จัดทำมาตรฐานการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันทันตฯในระดับปฐมภูมิ. เป้าประสงค์.ทันตบุคลากรมีทักษะในการจัดการงานทันตสาธารณสุข • พัฒนาทักษะในการดำเนินงานเชิงรุกร่วมกับชุมชน • พัฒนาทักษะในการจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรมเทคโนโลยีด้านทันตสาธารณสุข เป้าประสงค์..มีฐานข้อมูลทันตสุขภาพ และปัจจัยกำหนดทันตสุขภาพ • จัดทำฐานข้อมูลทันตสุขภาพของเครือข่ายบริการ • ขยายระบบข้อมูลเฝ้าระวังทันตฯในระดับตำบล รากฐาน
๑. ลดความแออัดของบริการทันตกรรมใน รพ.เขตเมือง ๑. พัฒนา ศสม.ให้มีบริการทันตกรรมโดยทันตแพทย์ทุกแห่ง - จัดให้มีบริการทันตกรรมในเขตเมือง๑๐๐% - จัดให้มีทันตแพทย์บริการประจำทุกแห่ง
๒. ลดระยะเวลาการรอคอยฟันเทียมในผู้สูงอายุ - ระยะเวลาการรอคอยฟันเทียมเฉลี่ยไม่เกิน ๖ เดือน - ผู้สูงอายุมีฟันบดเคี้ยวได้เพิ่มขึ้นร้อยละ ๒
๒. เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันและรักษาพื้นฐานของประชาชนในชนบท (บริการปฐมภูมิ) ๑.ขยายบริการทันตสุขภาพโดยทันตบุคลากรใน รพ.สต. - ขยายบริการทันตสุขภาพโดยทันตบุคลากรใน รพ.สต. - ผลิตทันตาภิบาลเพิ่มขึ้น - จัดสรรครุภัณฑ์พร้อมใช้ใน รพ.สต.
๒. พัฒนาขีดความสามารถ รพ.สต.ที่ไม่มีทันตาภิบาลให้สามารถจัดบริการ ส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพได้ - รพ.สต.มีการจัดบริการส่งเสริมทันตสุขภาพเป็นไปตามมาตรฐาน > ๘๐% - ปชช.เข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันและรักษาพื้นฐานมากกว่าร้อยละ ๒๐
๓.ส่งเสริมให้มีบริการส่งเสริมทันตกรรมป้องกัน และป้องกันโรคโรคทุกกลุ่มวัย • - หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ ๘๐ • เด็ก ๐ – ๒ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ • เด็ก ๐ – ๒ ปี ได้รับฟลูออไรด์วานิชไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ • - เด็ก ๓ – ๕ ปี ได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพ ร้อยละ ๘๐ • - เด็ก ป.๑ ได้รับการตรวจฟันร้อยละ ๘๕ • - เด็ก ป.๑ ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ร้อยละ ๓๐ • - เด็ก ป. ๑ได้รับ Comprehensive care ร้อยละ ๒๐ • - ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ๑๐,๐๐๐ ราย • ผู้มีอายุ ๔๐ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปาก ร้อยละ ๘๐ของผู้เข้ารับบริการ • ในคลีนิคทันตกรรม
๔. ทันตกรรมป้องกันในเด็ก Cleft Lip/Cleft Palate - จัดเครือข่ายบริการผู้ป่วย Cleft Lip/Cleft Palateได้รับการดูแลแบบองค์รวม ทุกจังหวัด
๕. พัฒนา ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข -ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ๒ แห่งต่ออำเภอต่อจังหวัด
๓. การส่งต่อผู้ป่วยทันตกรรมที่มีความซับซ้อน กำหนด Node ความเชี่ยวชาญในการส่งต่อในเขต - การติดเชื้อและการบาดเจ็บ ๑ แห่ง - การแก้ไข Cleft Lip/Cleft Palate ๓ แห่ง - Oral Cancer ๓ แห่ง - Implant ๓ แห่ง
๔.การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการทันตกรรม๔.การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการทันตกรรม • สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาคุณภาพบริการทันตกรรมในสถานบริการ • สถานบริการผ่านมาตรฐานบริการตาม Dental Quality Clinic ร้อยละ ๘๐ • - อุบัติการณ์การ้องเรียนลดลงร้อยละ ๑๐ • - ผู้รับบริการมีความพึงพอใจร้อยละ ๘๕
ระดับการให้บริการ ระดับ ๑รักษาได้ทั้งหมด ระดับ ๒ รักษาได้บางส่วนหรือกรณีที่ไม่ซับซ้อนมากและส่งต่อรวมถึงรับกลับรักษาต่อเนื่อง ระดับ ๓ ตรวจและให้คำแนะนำและส่งต่อ