300 likes | 530 Views
Declaration of Philadelphia. Labour is not a commodity Freedom of expression and of association are essential to sustained progress Poverty anywhere constitutes a danger to prosperity everywhere
E N D
Declaration of Philadelphia • Labour is not a commodity • Freedom of expression and of association are essential to sustained progress • Poverty anywhere constitutes a danger to prosperity everywhere • All human begins, irrespective of race, creed or sex, have the right to pursue both their material well-begin and their spiritual development in conditions of freedom and dignity, of economic security and equal opportunity.
คำประกาศแห่งฟิลาเดลเฟียคำประกาศแห่งฟิลาเดลเฟีย • แรงงานมิใช่สินค้า • เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการสมาคมเป็นสิ่งจำเป็นต่อความก้าวหน้าอันยั่งยืน • ความยากจน ณ แห่งใดแห่งหนึ่ง ย่อมเป็นปฎิปักษ์ต่อความเจริญรุ่งเรืองในทุกแห่ง • มนุษย์ทุกคน โดยไม่คำนึงถึง เชื้อชาติ ความเชื่อ และเพศ ต่างมีสิทธิที่จะแสวงหาทั้งสวัสดิภาพทางวัตถุ และพัฒนาการด้านจิตใจ ภายในเงื่อนไขของเสรีภาพและความภาคภูมิ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และโอกาสอันทัดเทียมกัน
ประเภทของสหภาพแรงงาน • สหภาพแรงงานช่างฝีมือหรือผู้ประกอบวิชาชีพเฉพาะสาขา (CRAFT UNION, OCCUPATIONAL UNION) • สหภาพแรงงานตามกิจการอุตสาหกรรม (INDUSTRIAL UNION) • สหภาพแรงงานเฉพาะโรงงานหรือเฉพาะสถานประกอบการ (HOUSE UNION, PLANT UNION) • สหภาพแรงงานทั่วไป (GENERAL UNION)
ทฤษฎีของสหภาพแรงงาน • เป็นองค์กรที่ดำเนินการต่อเนื่อง • ก่อตั้งขึ้นด้วยความประสงค์ของลูกจ้าง • บริหารและดำเนินกิจการด้วยความสมัครใจ • เพื่อคุ้มครองการมีงานทำของลูกจ้าง • เพื่อขจัดความไม่เป็นธรรมในการบริหารงานบุคคลของนายจ้าง • เพื่อต่อรองให้เกิดข้อตกลงในเรื่องค่าจ้างและสวัสดิการที่เหมาะสม • เพื่อให้เกิดความเป็นประชาธิปไตยในอุตสาหกรรม • เพื่อเป็นแหล่งรวมความคิดและมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์การและสังคม
A trade union may, therefore, be defined as: any organisation, whose membership consists of employees, which seeks to organise and represent their interests both in the workplace and society and, in particular, seeks to regulate their employment relationship through the direct process of collective bargaining with management.
Economic regulation Job regulation Social change Member services Self- fulfilment Trade union Individual Power
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 • สหภาพแรงงานที่ผู้จัดตั้ง และสมาชิกเป็นลูกจ้างของนายจ้างคนเดียวกัน (house union) • สหภาพแรงงานที่ผู้จัดตั้ง และสมาชิกเป็นลูกจ้างซึ่งทำงานในกิจการประเภทเดียวกัน ไม่ว่าจะมีนายจ้างกี่คน (industrial union) กำหนดให้ลูกจ้างตั้งสหภาพแรงงานได้ 2 ประเภท
สหภาพแรงงาน ลูกจ้างผู้บังคับบัญชา สหภาพแรงงาน ลูกจ้างธรรมดา : ลูกจ้างผู้บังคับบัญชา และลูกจ้างธรรมดาจะเป็นสมาชิกในสหภาพแรงงานเดียวกันไม่ได้... มาตรา 95 • นายจ้าง • ลูกจ้างผู้บังคับบัญชา ที่มีอำนาจในการจ้าง ลดค่าจ้าง เลิกจ้าง ให้บำเหน็จ หรือลงโทษ • ลูกจ้างซึ่งไม่มีอำนาจดังเช่นลูกจ้างผู้บังคับบัญชา
วันลาไปดำเนินกิจการสหภาพแรงงานและไปร่วมประชุมของกรรมการสหภาพแรงงานวันลาไปดำเนินกิจการสหภาพแรงงานและไปร่วมประชุมของกรรมการสหภาพแรงงาน • ลาเพื่อไปดำเนินกิจการสหภาพแรงงานในฐานะผู้แทนลูกจ้างในการเจรจา การไกล่เกลี่ยและการชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน • ลาเพื่อไปร่วมประชุมตามที่ทางราชการกำหนด โดยแจ้งให้นายจ้างทราบล่วงหน้าถึงเหตุที่ลาพร้อมแสดงหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ถือว่าวันลาดังกล่าวเป็นวันทำงาน * (ได้ค่าจ้างทุกวันที่ลา) *
สหภาพแรงงาน • แสวงหาและคุ้มครองประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้าง • ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง วัตถุที่ประสงค์
สหพันธ์แรงงาน ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระว่างสหภาพแรงงาน และคุ้มครองผลประโยชน์ของสหภาพแรงงานและลูกจ้าง วัตถุที่ประสงค์
สภาองค์การลูกจ้าง ส่งเสริมการศึกษาและส่งเสริมการแรงงานสัมพันธ์ วัตถุที่ประสงค์
สภาองค์การลูกจ้าง ร่วมจัดตั้ง ตั้งแต่ 15 สหภาพ/ สหพันธ์ขึ้นไป สหพันธ์แรงงาน ร่วมจัดตั้ง ตั้งแต่ 2 สหภาพขึ้นไป สหภาพแรงงาน A สหภาพแรงงาน B ร่วมจัดตั้ง ตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ลูกจ้างที่มีนายจ้างคนเดียวกัน, ลูกจ้างที่ทำงานในกิจการประเภทเดียวกัน
การกระทำอันไม่เป็นธรรมUNFAIR LABOUR PRACTICES • เลิกจ้างหรือกระทำการใดๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจ้างฯ ไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้เพราะเหตุที่ลูกจ้างฯได้นัดชุมนุม ทำคำร้อง ยื่นข้อเรียกร้อง เจรจา ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ เพราะเหตุที่ลูกจ้างฯ กำลังจะกระทำการดังกล่าว • เลิกจ้างหรือกระทำการใดๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้เพราะเหตุที่ลูกจ้างนั้นเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงาน ห้ามมิให้นายจ้าง
การกระทำอันไม่เป็นธรรมUNFAIR LABOUR PRACTICES • ขัดขวางในการที่ลูกจ้างเป็นสมาชิก หรือให้ลูกจ้างออกจากการเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน... • ขัดขวางการดำเนินของสหภาพแรงงาน... • เข้าแทรกแซงในการดำเนินการของสหภาพแรงงาน... ห้ามมิให้นายจ้าง
ร้องกล่าวหา (ใน 60 วัน) ไม่ร้องกล่าวหา * วินิจฉัยชี้ขาด การกระทำอันไม่เป็นธรรมUNFAIR LABOUR PRACTICES ผู้เสียหาย คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ 90 วัน สอบข้อเท็จจริงจากทุกฝ่าย ให้รับกลับเข้าทำงาน ให้จ่ายค่าเสียหาย ให้เลิกกระทำการนั้น ฯลฯ สั่งแก้ไขเยียวยา ยกคำร้อง
มาตรการและวิธีการในการดำรงภาวะไร้สหภาพแรงงาน ? • สร้างความแตกแยกในหมู่ลูกจ้าง • ให้หัวหน้าคนงานจับตาและระงับการรวมตัวทันที • กำหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ห้ามชุมนุมเกิน 5 คน ฯลฯ • พยายามทำให้พนักงานมีเวลาของตนน้อย ด้วยการให้ทำงานล่วงเวลา ฯลฯ • เบนความสนใจลูกจ้างทั้งหลายไปทางอื่น เช่น การเล่นสลากกินรวบ ฯลฯ • กีดกันมิให้ลูกจ้างมีโอกาสได้รับความรู้ทางกฎหมายแรงงาน
มาตรการและวิธีการในการดำรงภาวะไร้สหภาพแรงงาน ? • ตัดโอกาสการเข้าร่วมกิจกรรมของสหภาพแรงงานอื่น เช่น ให้ทำงานในวันแรงงานแห่งชาติ ฯลฯ • แสดงให้ลูกจ้างทุกคนทราบว่าหากมีการก่อตั้งสหภาพแรงงานจะได้รับการต่อต้านทันที... • ให้ลูกจ้างเชื่อว่าการตั้งสหภาพแรงงาน จะเป็นเหตุให้กิจการต้องปิดลงลูกจ้างทุกคนจะตกงาน • ย้ายลูกจ้างที่มีท่าทีเป็นผู้นำไปอยู่ในงานที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา หรืองานที่ได้รับค่าจ้างตามผลงาน
มาตรการและวิธีการในการดำรงภาวะไร้สหภาพแรงงาน ? • หยุดประกอบกิจการชั่วคราวเพื่อสร้างความหวั่นไหว…ฯ • เลิกจ้างลูกจ้างที่ชุมนุมพยายามจะก่อตั้งสหภาพแรงงาน • ทำให้ผู้นำลูกจ้างต้องออกไปจากงานด้วยวิธีการต่างๆ เช่น แกล้งให้ต้องคดี, ฆ่า ฯลฯ
ปัจจัยที่ทำให้มีการก่อตั้งสหภาพแรงงานปัจจัยที่ทำให้มีการก่อตั้งสหภาพแรงงาน • การฝ่าฝืนกฎหมายคุ้มครองแรงงาน • การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม • ค่าตอบแทนที่ต่ำเกินสถานะของนายจ้าง • สวัสดิการไม่มีหรือไม่เพียงพอ • การลงโทษทางวินัยที่ไม่มีหลักเกณฑ์ • การบริหารงานบุคคลที่ไม่มีหลักการอันถูกต้อง • ระบบการยุติข้อร้องทุกข์ที่ไม่มีหรือไม่ได้ผล • การสื่อสารข้อความที่ขาดตอน
ปัจจัยที่ทำให้มีการก่อตั้งสหภาพแรงงานปัจจัยที่ทำให้มีการก่อตั้งสหภาพแรงงาน • กิจกรรมที่ลูกจ้างมีโอกาสกระทำร่วมกันไม่มี • ความต้องการมีตำแหน่งทางสังคม • ลัทธิเอาอย่าง • การสนับสนุนของนายจ้าง ฯลฯ
ข้อบังคับ คณะกรรมการ สหภาพแรงงาน แจ้งข้อเรียกร้อง, นัดหยุดงาน แก้ไขเพิ่มเติม เลือกตั้ง ดำเนินการ ลงมติ ที่ประชุมใหญ่ สมาชิกสหภาพแรงงาน... (มาตรา 70, 103)
รองประธาน รองประธาน เหรัญญิก เลขานุการ นายทะเบียน ประชาสัมพันธ์ การศึกษา สวัสดิการ กฎหมาย ฯลฯ โรงงาน 2 โรงงาน 1 ร้านจำหน่าย สำนักงาน โกดัง คณะกรรมการสหภาพแรงงาน ที่ได้รับเลือกตั้ง จัดสรรตำแหน่ง ประธาน แต่งตั้งสมาชิกเป็นผู้แทนสหภาพแรงงานประจำหน่วยงาน
บริหารงาน กำหนดหลักการ ที่ประชุมใหญ่ เลือกตั้ง พิจารณา คณะกรรมการ สหภาพแรงงาน กิจการสำคัญ (มาตรา 103) ดำเนินการ เพื่อประโยชน์ สหภาพ แรงงาน
คำขอของสหภาพแรงงาน • การขอปรับปรุงสภาพการจ้าง • การขอสถานที่ เพื่อเป็นที่ทำการสหภาพแรงงาน • การขอวัสดุอุปกรณ์ เพื่อใช้ในกิจการสหภาพแรงงาน • การขอประชาสัมพันธ์ ในสถานประกอบการ • การขอติดต่อสมาชิกในสถานประกอบการ • การขอประชุมสมาชิกในสถานประกอบการ • การขอให้หักค่าจ้างสมาชิกและส่งให้สหภาพแรงงาน • การขออนุญาตลางาน เพื่อกิจการสหภาพแรงงาน
คำขอของสหภาพแรงงาน • การขอเข้าร่วมในการสอบข้อเท็จจริง และพิจารณาโทษทางวินัย • การขอปรึกษาหารือเป็นประจำ ฯลฯ... ที่นายจ้างจะได้รับเมื่อมีสหภาพแรงงาน...