660 likes | 826 Views
Software. Software. โปรแกรมที่เขียนขึ้นเป็นภาษาต่างๆ ตามข้อกำหนดของภาษานั้นๆ เพื่อให้ Hardware ของระบบคอมพิวเตอร์ สามารถทำงานได้ตามที่เราต้องการ แบ่ง software ได้ 2 แบบ ดังนี้ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software). ซอฟต์แวร์ระบบ.
E N D
Software • โปรแกรมที่เขียนขึ้นเป็นภาษาต่างๆ ตามข้อกำหนดของภาษานั้นๆ เพื่อให้ Hardware ของระบบคอมพิวเตอร์ สามารถทำงานได้ตามที่เราต้องการ แบ่ง software ได้ 2 แบบ ดังนี้ • ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ • ใช้ควบคุมรายละเอียดทางด้านเทคนิค • ทำงานร่วมกับผู้ใช้ โปรแกรมประยุกต์ และฮาร์ดแวร์ • ประกอบด้วย กลุ่มโปรแกรม 4 ชนิด ได้แก่ • ระบบปฏิบัติการ • ยูทิลิตี • ดีไวซ์ไดรเวอร์ • ตัวแปลภาษา
ระบบปฏิบัติการ • ประสานงานกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์ • จัดเตรียมส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้และคอมพิวเตอร์ • ดำเนินงานกับโปรแกรมประยุกต์ • เป็นกลุ่มของโปรแกรมที่ใช้ควบคุมรายละเอียดทางด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ทุกตัวจำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการ
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ • จำแนกได้ 3 หน้าที่หลัก คือ • จัดการกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์ • จัดเตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ • ดำเนินงานกับโปรแกรมประยุกต์
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ • จัดการกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์ • ประสานงานกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์ ได้แก่ หน่วยความจำ หน่วยประมวลผล อุปกรณ์หน่วยเก็บรอง อุปกรณ์รับเข้า และอุปกรณ์ส่งออก • ดูแลประสิทธิภาพของระบบ • จัดเตรียมระบบความปลอดภัย • เริ่มต้นการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ • จัดเตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ • ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางตัวอักษร (Character-based interface) • ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางรูปภาพ (Graphical user interface หรือ GUI)
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ • ดำเนินงานกับโปรแกรมประยุกต์ • สนับสนุนการทำงานแบบมัลติทาสกิ้ง (Multitasking) • โดยโปรแกรมที่กำลังใช้งานอยู่ในขณะนั้น จะดำเนินงานในลักษณะเบื้องหน้า (Foreground) • ส่วนโปรแกรมอื่นๆ ที่กำลังดำเนินงานอยู่ แต่ว่าไม่ได้ใช้งานในขณะนั้น จะดำเนินงานในลักษณะเบื้องหลัง(background)
ลักษณะของระบบปฏิบัติการลักษณะของระบบปฏิบัติการ • การบูทระบบ (Booting) ถือเป็นการเริ่มต้นการทำงานของคอมพิวเตอร์ • วอร์มบูท (warm boot) • โคลด์บูท (cold boot)
ลักษณะของระบบปฏิบัติการลักษณะของระบบปฏิบัติการ • ลักษณะโดยทั่วไป : • ไอคอน • พอยน์เตอร์ • วินโดว์ • เมนู • ไดอะล็อกบอกซ์ • ตัวช่วยเหลือ
ประเภทของระบบปฏิบัติการประเภทของระบบปฏิบัติการ • แบ่งได้ 3 ประเภท ได้แก่ • ระบบปฏิบัติการแบบฝังตัว – ใช้ในคอมพิวเตอร์แบบมือถือ • ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย – ใช้ควบคุมและประสานการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่าย • ระบบปฏิบัติการแบบสแตนอโลน – ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หรือโน้ตบุ๊ก
ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการตัวอย่างของระบบปฏิบัติการ • ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้งานกันทั่วไป ได้แก่ • วินโดวส์ – นิยมใช้งานมากในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ • แมคโอเอส– มีความสามารถสูงและใช้งานได้ง่าย • ยูนิกซ์ – เป็นระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ; โดยในระยะเริ่มต้นออกแบบมาเพื่อใช้งานสำหรับเว็บ • ลีนุกซ์– เป็นระบบปฏิบัติการที่ไม่มีบริษัทเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์; สามารถใช้งานได้ฟรีจากเว็บ
วินโดวส์ • นิยมใช้กันมากในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ • Windows XP เป็นระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้งานกันอย่างแพร่หลาย • Windows Vistaเป็นระบบปฏิบัติการเวอร์ชันล่าสุด ย้อนกลับ
แมคโอเอส • ออกแบบมาเพื่อทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์แอปเปิ้ล • ไม่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเท่ากับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ • แมคโอเอสเท็น Mac OS Xเป็นระบบปฏิบัติการเวอร์ชันล่าสุด • เวอร์ชันถัดไปของระบบปฏิบัติการแมคโอเอส จะใช้ชื่อว่า Leopard ย้อนกลับ
ยูนิกซ์ • เป็นระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย • ระยะเริ่มต้นออกแบบมาเพื่อใช้สำหรับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ • สามารถทำงานในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ย้อนกลับ
ลีนุกซ์ • จัดเป็นเวอร์ชันหนึ่งของระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ • สามารถใช้งานได้ฟรี • Open source
ยูทิลิตี • โปรแกรมพิเศษ ที่ช่วยให้การทำงานภายในของเครื่องคอมพิวเตอร์ทำได้ง่าย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น • ยูทิลิตีที่จำเป็นสำหรับการใช้งาน ได้แก่ • โปรแกรมปรับแก้ปัญหา • โปรแกรมป้องกันไวรัส • โปรแกรมยกเลิกการติดตั้ง • โปรแกรมสำรองข้อมูล • โปรแกรมบีบอัดไฟล์
โปรแกรมยูทิลิตีของระบบปฏิบัติการวินโดวส์โปรแกรมยูทิลิตีของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ • Backup • Disk Cleanup • Disk Defragmenter
Backup • ช่วยป้องกันข้อมูลเสียหาย หรือสูญหาย ในกรณีที่ดิสก์เสีย • โดยทำการคัดลอกไฟล์ที่ต้องการจากฮาร์ดดิสก์ไปยังอุปกรณ์หน่วยเก็บรอง ย้อนกลับ
ช่วยลบไฟล์ที่ไม่จำเป็นทิ้งไปช่วยลบไฟล์ที่ไม่จำเป็นทิ้งไป ทำให้ฮาร์ดดิสก์มีเนื้อที่ว่างเพิ่มขึ้น และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของระบบ Disk Cleanup ย้อนกลับ
Disk Defragmenter • ช่วยรวมไฟล์ให้อยู่ในเนื้อที่ต่อเนื่องกัน • จัดระเบียบเนื้อที่ว่างบนดิสก์ให้อยู่ในรูปแบบที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ชุดโปรแกรมยูทิลิตี • เป็นการรวมโปรแกรมยูทิลิตีหลายๆ โปรแกรมเข้าไว้เป็นชุดเดียวกัน • ทำให้ผู้ซื้อประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่าการแยกซื้อแต่ละตัว • ชุดโปรแกรมยูทิลิตี ซึ่งเป็นที่รู้จัก ได้แก่ • McAfee Office • Norton System Works
ดีไวซ์ไดรเวอร์ • เป็นอุปกรณ์พิเศษที่ทำให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ได้ • ทำงานร่วมกับระบบปฏิบัติการ • เมื่อคอมพิวเตอร์เริ่มทำงาน ระบบปฏิบัติการจะโหลดดีไวซ์ไดรเวอร์ทุกตัวลงสู่หน่วยความจำ • หากมีการติดตั้งอุปกรณ์ใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ จะต้องทำการติดตั้งดีไวซ์ไดรเวอร์ของอุปกรณ์ดังกล่าวก่อนการใช้งาน
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) หรือซอฟต์แวร์สำหรับผู้ใช้ เพื่อใช้ในการทำงานทั่วไป • แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม • ซอฟต์แวร์ประยุกต์พื้นฐาน • ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน Page 64
ซอฟต์แวร์ประยุกต์พื้นฐานซอฟต์แวร์ประยุกต์พื้นฐาน • ซอฟต์แวร์ประยุกต์พื้นฐาน(basic application)หรือบางครั้งเรียกว่า ซอฟต์แวร์ประยุกต์เอนกประสงค์ (general-purpose)หรือซอฟต์แวร์ช่วยเพิ่มผลผลิต (productivityapplications) • ตัวอย่างเช่น • โปรแกรมประมวลผลคำ • โปรแกรมตารางทำการ • โปรแกรมนำเสนอ • โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล Page 64
คุณลักษณะ • ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ด้วยภาพกราฟิก (GUI) • ไอคอน • วินโดว์ • เมนู • เมนูช่วยเหลือ • แถบเครื่องมือ Page 64
แถบเครื่องมือ • ทำให้สามารถเรียกใช้งานคำสั่งต่าง ๆ ได้เร็วขึ้น • ตัวอย่างเช่น แถบเครื่องมือมาตรฐาน • StandardToolbar Page 64
เว็บเบสแอพพลิเคชัน • เป็นการเข้าถึงซอฟต์แวร์ประยุกต์จากเว็บไซต์ • ผ่านผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์หรือเอเอสพี (Application service providers : ASP) • มีการเรียกเก็บค่าบริการกับผู้ใช้ Page 64
โปรแกรมประมวลผลคำ • ใช้ในการสร้างงานเอกสารที่เป็นตัวอักษรและภาพ • บันทึก จดหมาย และแผ่นพับ • จดหมายข่าว คู่มือ และใบปลิว • ตัวอย่างโปรแกรมประมวลผลคำที่นิยมใช้ • Microsoft Word • Corel WordPerfect • Lotus Word Pro Page 68
การตัดคำ (word wrap)การปัดคำที่พิมพ์เกินบรรทัดลงมาบรรทัดใหม่ให้อัตโนมัติ การแก้ไขเอกสาร (editing) การค้นหาและแทนที่ การสะกดคำและตรวจสอบ ความถูกต้องของไวยกรณ์ การจัดรูปแบบเอกสาร (formatting) แบบอักษรและขนาดอักษร ลักษณะอักษรแบบพิเศษ เช่น ตัวนูน ตัวเอียง ใส่เงา สัญลักษณ์และลำดับตัวเลขหน้าข้อความ คุณลักษณะของโปรแกรม Page 68
การสร้างใบปลิว การสร้างรายงาน กรณีศึกษา Page 68
การสร้างใบปลิว ย้อนกลับ Page 69
การสร้างรายงาน Page 70
โปรแกรมตารางทำการ • เป็นโปรแกรมสำหรับคำนวณ วิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นตัวเลข และสร้างแผนภูมิ • ตัวอย่างโปรแกรมที่นิยมใช้ • Microsoft Excel • Corel Quattro Pro • Lotus 1-2-3 Page 71
คุณลักษณะของโปรแกรม • สมุดงาน (workbook) • แผ่นงาน (worksheet) • แผ่นตารางทำการ (sheet) • สูตร (formula) • ฟังก์ชัน (function) • กราฟ (graph) หรือ แผนภูมิ (chart) Page 71
กรณีศึกษา • การพยากรณ์การขาย • การสร้างกราฟหรือแผนภูมิ • การวิเคราะห์ข้อมูล Page 72
การพยากรณ์การขาย ย้อนกลับ Page 73
การสร้างแผนภูมิ ย้อนกลับ Page 74
การวิเคราะห์ข้อมูล Page 75
โปรแกรมนำเสนอ • โปรแกรมสำหรับสร้างงานนำเสนอที่มีลูกเล่นเพื่อเพิ่มความน่าสนใจ • ตัวอย่างโปรแกรมที่นิยมใช้ • Microsoft PowerPoint • Corel Presentations • Lotus Freelance Graphics Page 79
คุณลักษณะของโปรแกรม • ภาพนิ่ง (Slides) • วิซาร์ดอัตโนมัติ (AutoContent wizard) • การออกแบบภาพนิ่ง (Design templates) • ต้นแบบภาพนิ่ง (Master slide) Page 79
กรณีศึกษา • การสร้างงานนำเสนอ • การปรับปรุงงานนำเสนอ Page 80
การสร้างงานนำเสนอ ย้อนกลับ Page 80
การปรับปรุงงานนำเสนอ Page 80
โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล • ฐานข้อมูล (database) เป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน • ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับทำโครงสร้างของฐานข้อมูล และมีเครื่องมือต่างๆ สำหรับจัดการข้อมูล • ตัวอย่างโปรแกรมที่นิยมใช้ • Microsoft Access • Corel Paradox • Lotus Approach Page 76
คุณลักษณะของโปรแกรม • กำหนดความสัมพันธ์ข้อมูล • ตาราง (table) • เรคคอร์ด (Record) • ฟิลด์ (Field) • การจัดเรียงลำดับข้อมูล • การสอบถามข้อมูล (query) • ฟอร์มรับข้อมูล (form) • รายงาน (report) Page 76
กรณีศึกษา • การสร้างฐานข้อมูล • การสอบถามข้อมูล Page 77
การสร้างฐานข้อมูล ย้อนกลับ Page 77
การสอบถามข้อมูล Page 78