370 likes | 508 Views
มุมมองทางระบาดวิทยาของ MDR TB. นายแพทย์ปริญญา ชำนาญ 31 พฤษภาคม 2555. ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์. investigating the causes and prevention of diabetes and obesity. Outline. ปัญหาอุปสรรคที่พบในการการควบคุมและป้องกันโรควัณโรคดื้อยา
E N D
มุมมองทางระบาดวิทยาของ MDR TB นายแพทย์ปริญญา ชำนาญ 31 พฤษภาคม 2555 ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ investigating the causes and prevention of diabetes and obesity
Outline • ปัญหาอุปสรรคที่พบในการการควบคุมและป้องกันโรควัณโรคดื้อยา • บททาทของระบาดวิทยาต่อการควบคุมและป้องกันโรควัณโรคดื้อยา
สถานการณ์ปัญหาวัณโรคที่พบจากการทำงานสถานการณ์ปัญหาวัณโรคที่พบจากการทำงาน 1. การบริหารจัดการภายในโรงพยาบาล 2.MDR-TB รักษาไม่ต่อเนื่อง 3. ระบบการส่งต่อผู้ป่วยจากรพศ./รพท.ไปรพสต.(สอ.) 4. ผู้ป่วย MDR-TB 5. บุคลากรสาธารณสุข 6. ขั้นตอนการวินิจฉัย/การรักษา 7. คุณภาพของระบบรายงาน
อุปสรรคในการควบคุมและรักษาวัณโรคดื้อยาอุปสรรคในการควบคุมและรักษาวัณโรคดื้อยา • ไม่ทราบระบาดวิทยาและขนาดของปัญหาที่แท้จริงในประเทศไทย • ไม่มียุทธศาสตร์ที่ชัดเจนในการจัดการกับปัญหาในระดับนโยบาย • ไม่มีหน่วยงานที่รับผิดชอบในการติดตามและรับผิดชอบในการรักษาในหน่วยบริการระดับต่าง ๆ • แพทย์ที่ดูแลรักษาผู้ป่วยไม่มีประสบการณ์และความเข้าใจในการดูแลรักษาผุ้ป่วยวัณโรคดื้อยา • ทัศนะคติของเจ้าหน้าที่ที่ดูแลผู้ป่วยไม่เหมาะสม • ห้องปฏิบัติการไม่สนับสนุนการดูแลผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา • ผู้ป่วยไม่สามารถเข้าถึงการรักษาได้ น.พ.เจริญ ชูโชติถาวร
... แล้วระบาดวิทยาจะเข้ามาส่วนช่วยได้อย่างไร?
What is epidemiology? “The study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems” Last. Dictionary of Epidemiology, 2001 การศึกษาการกระจาย และสาเหตุของเหตุการณ์หรือปัญหาทางสุขภาพในประชากรหนึ่ง และการนำผลการศึกษาดังกล่าวไปใช้ในการควบคุมและป้องกันปัญหาสุขภาพ
คำถามที่สำคัญในการควบคุมป้องกันโรคคำถามที่สำคัญในการควบคุมป้องกันโรค • ศึกษาว่ามีปัญหาอยู่จริง ขนาดปัญหาและภาระโรค (descriptive) • ความชุก อุบัติการณ์ ของปัญหาที่สนใจ • ศึกษาว่ามีปัจจัยที่สัมพันธ์กับปัญหาหรือโรคนั้นๆ (analytical) • ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยส่งเสริมต่อการเกิดปัญหา/ โรค • ศึกษาว่าการรักษาหรือกิจกรรมที่เราให้นั้นให้ผลเป็นอย่างไร (intervention) • ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกิจกรรมการรักษา/ ป้องกัน Efficacy and effectiveness
ตัวอย่างปัญหา ภาวะสุขภาพ หรือโรค Global map of penis size, derived from March 2011 survey
? เรามีคำตอบที่สมบูรณ์กับคำถามไหนบ้าง? ? ?
ศึกษาขนาดปัญหา และภาระโรค (descriptivestudy) HIV prevalence by transmission Prevalence of Trichomoniasis in selected populations
ศึกษาขนาดปัญหา และภาระโรค (descriptivestudy)
ศึกษาขนาดปัญหา และภาระโรค (descriptivestudy) Global map of penis size, derived from March 2011 survey
นิยามของโรค/ปัญหาสุขภาพมีความสำคัญนิยามของโรค/ปัญหาสุขภาพมีความสำคัญ The trajectory of disease Outcome Death Disease Disability Discomfort Dissatisfaction Healthy Disease onset Symptoms Dx Rx Seek care
นิยามของโรค/ปัญหาสุขภาพมีความสำคัญนิยามของโรค/ปัญหาสุขภาพมีความสำคัญ MDR TB TB The trajectory of disease ? ? Outcome Death Disease Disability Discomfort Dissatisfaction Healthy Disease onset Symptoms Dx Rx Seek care
Incidence and prevalence Aetiology - What’s turning on the tap? Prognosis New incident cases Pool of prevalent cases Mortality
ปัจจัยที่มีผลต่อความชุกที่วัดได้ปัจจัยที่มีผลต่อความชุกที่วัดได้
จำนวนผู้ป่วย MDR TB จำแนกรายอำเภอปี 2554 จำนวนผู้ป่วย ที่มา:ห้องปฏิบัติการชันสูตรวัณโรค สคร.7
จำนวนผู้ป่วย MDR TB จำแนกรายอำเภอปี 2554 220,000 จำนวนประชากร จำนวนผู้ป่วย 130,000 110,000 160,000 120,000 180,000 ที่มา:ห้องปฏิบัติการชันสูตรวัณโรค สคร.7
ภาพฝันการแสดงขนาดปัญหาและภาระโรคภาพฝันการแสดงขนาดปัญหาและภาระโรค
การสำรวจความชุกวัณโรคระดับชาติ ในประเทศไทย(National TB Prevalence Survey, Thailand 2011-12) การเฝ้าระวังแนวโน้มการดื้อยาวัณโรคของประเทศ ครั้งที่ 4 สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ 22 มีนาคม 2555
การสำรวจความชุกวัณโรคระดับชาติ ในประเทศไทย(National TB Prevalence Survey, Thailand 2011-12) ข้อมูลตติยภูมิ >>> ทราบขนาด และการกระจายของปัญหา ข้อมูลระดับบุคคล >>> ทราบปัจจัยที่สัมพันธ์กับปัญหา MDR TB การเฝ้าระวังแนวโน้มการดื้อยาวัณโรคของประเทศ ครั้งที่ 4 สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ 22 มีนาคม 2555
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และการใช้ประยุกต์การใช้งาน ที่มีในปัจจุบัน UCHA แนวทางการดำเนินงานด้านข้อมูล สำนักวัณโรค (MIFA) โปรแกรมโรงพยาบาล โปรแกรมเฉพาะด้านวัณโรค TB Clinic SMART 2010 TUC-TB M Record ส่งออกฐานข้อมูลให้กรมควบคุมโรค Hosp 0S TB Database (สปสช.) Web Application HosXp • รายงานชดเชย • ภาระงาน • - มีระบบการออกรายงานระดับเขตและส่วนกลาง HIS 2000 Home C TB Online สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ 22 มีนาคม 2555
ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับปัญหา (analyticalstudy) Association between body mass index and risk of death from cardiovascular diseases
ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับปัญหา (analyticalstudy) Median TBR within aorta and main coronary artery in patient with acute coronary syndrome compared to those with stable angina
ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับปัญหา (analyticalstudy) Factors associated with sexual activity among adolescent women
สาเหตุของวัณโรคดื้อยาสาเหตุของวัณโรคดื้อยา • ผู้ป่วยโชคร้ายได้เชื้อวัณโรคมาแต่ต้น (โชคหรือแผนงานควบคุมวัณโรคไม่ดี) • ผู้ป่วยทานยาไม่สม่ำเสมอ • เกิดข้อผิดพลาดจากการดูแลของแพทย์พยาบาล หรือไม่ปฏิบัติตามแนวทางเวชปฏิบัติ • คุณภาพของยา • สูตรและขนาดของยาไม่ถูกต้อง • การดูดซึมของยาลดลง • ปฏิกิริยาระหว่างยา – ยา • อาการอันไม่พึงประสงค์จากการรักษา น.พ.เจริญ ชูโชติถาวร
รูปแบบการศึกษาหาปัจจัยเสี่ยงการเกิด MDR TB THE PRESENT THE FUTURE Sample “Are those who have been exposed more likely to have the disease than those who have not been exposed?” Population
การศึกษาหาปัจจัยที่สัมพันธ์กับผลลัพธ์การรักษา MDR TB THE PRESENT THE FUTURE Sample of MTR TB “Are those who have been exposed more likely to have the disease than those who have not been exposed?” MDR TB population
การศึกษาหาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิด MDR TB Prospective MDR TB ปัจจัยเสี่ยง “คนที่มีปัจจัยเสี่ยง A มีโอกาสเกิดโรค MDR TB มากกว่าคนที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง A หรือไม่?”
การศึกษาหาปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสำเร็จของการรักษา MDR TB Case-control รักษาหายขาด ปัจจัยเสี่ยง “คนที่รักษาหายขาดเมื่อเทียบกับคนที่การรักษาล้มเหลวมีลักษณะหรือปัจจัยเสี่ยงอะไรที่ต่างกัน?”
ศึกษาผลของกิจกรรมการรักษา (interventionstudy) Effect of screening for prostate cancer using prostate specific antigen
ผลความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้อผลความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้อ กิจกรรม หรือปัจจัยหลักของความสำเร็จ? แหล่งข้อมูล : สำนักวัณโรค วันที่ 19 มีนาคม 2555
10 years of success rate in TB program, Thailand 2011 MOPH Permanent secretary priority 88 NHSO TB program implementation สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ 22 มีนาคม 2555