1.06k likes | 1.85k Views
การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ (Management & Management Thought). การบริหาร VS การจัดการ (Administration VS Management). การบริหาร (Administration)
E N D
การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ (Management & Management Thought)
การบริหาร VS การจัดการ (Administration VS Management) การบริหาร (Administration) เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายและแผนงาน ตลอดจนการกำกับดูแลเพื่อให้แน่ใจว่า ความสำเร็จที่เกิดขึ้นสอดคล้องกับนโยบายและแผนที่วางไว้
การจัดการ (Management) เป็นกระบวนการของการนำเอานโยบายและแผนงานไปปฏิบัติ ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดในขั้นของการบริหาร
ผู้บริหารTop Manager ผู้จัดการ Middle Manager หัวหน้าคนงานFirst Line Manager ลำดับชั้นของการจัดการ
ความหมายของการจัดการ Mary Parker Follett “การจัดการเป็นเทคนิคการทำงานให้สำเร็จ โดยอาศัยผู้อื่น” Ernest Dale “การจัดการ คือ กระบวนการการจัดองค์การและการใช้ทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดขึ้นไว้ล่วงหน้า”
สมพงษ์ เกษมสิน “การจัดการเป็นการใช้ศาสตร์และศิลปะนำเอาทรัพยากรการบริหาร มาประกอบตามกระบวนการบริหารเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ”
การจัดการ ทรัพยากร ทางการบริหาร - คน - เงิน - วัสดุ - วิธีการ - เครื่องจักร การจัดองค์การ การวางแผน เป้าหมายขององค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การควบคุม การสั่งการ กระบวนการทางการจัดการ
ทรัพยากรทางการจัดการ (Management Resources) • คน (Man) • เงิน (Money) • วัสดุ (Materials) • วิธีการบริหาร(Management or Method) • เครื่องจักร (Machine) • ตลาด (Market)
การจัดการเป็นศาสตร์ (Science) หรือศิลป์ (Art) ? Art Science การจัดการเป็นทั้งศิลป์ (Art) และศาสตร์ (Science)
แนวความคิด ทางการจัดการ (Management Thought)
ยุคที่ 1 ยุคก่อนการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Pre-scientific Management Period)
ยุคนี้เป็นยุคก่อนปี ค.ศ. 1880 การจัดการในยุคนี้ต้องอาศัยอำนาจหรือการบังคับ เป็นปัจจัยทางการบริหารที่สำคัญที่สุด วิธีการใช้อำนาจก็ได้แก่ การใช้แส้ โซ่ตรวน การจำคุก ฯลฯ มนุษย์ในยุคนี้ยอมทำงานก็เพราะกลัวการลงโทษ ถูกบังคับด้วยความจำใจ ความสัมพันธ์ภายในหน่วยงานมีลักษณะเป็นนายกับบ่าว กษัตริย์กับทาส ฯลฯ
นายกับบ่าว กษัตริย์กับทาส
ยุคที่ 2 ยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) • บุคคลที่มีชื่อเสียงในการบริหารงานยุคนี้ มีอยู่ด้วยกัน 3 คน • Robert Owen, • FrederickW.Taylor • Henri Fayol
Robert Owen Owen ให้ความเห็นว่าการปรับปรุงสภาพของ พนักงานหรือคนงานให้ดีขึ้น จะส่งผลไปสู่การเพิ่ม การผลิตและผลกำไร ในขณะที่ผู้บริหารคนอื่นๆมุ่งที่จะใช้ เงินลงทุนไปในการปรับปรุงเทคนิคการผลิตมากกว่า
Frederick Winslow Taylor (The Father of Scientific Management)
The Midvale Steel Company ในเมือง Bethlehem มลรัฐเพนซิลวาเนีย Taylor คัดค้านการบริหารงานแบบเก่าที่ใช้ “อำนาจ” (Power) Taylor ไม่พอใจในการบริหารงานที่ขาดประสิทธิภาพ
Taylor ได้เสนอวิธีแสวงหาหลักเกณฑ์ที่ดีไว้ ดังนี้ 1. ศึกษาว่างานแต่ละขั้นตอนนั้นต้องใช้เวลา (Time) อย่างน้อยที่สุดเท่าไร จึงจะสามารถทำให้สำเร็จลงได้ 2. ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (Motion) ในการทำงาน แต่ละขั้นเพื่อปรับปรุงวิธีการทำงาน เพื่อหาทางทำงานให้ สำเร็จโดยใช้พลังงานให้ประหยัดที่สุดเท่าที่จะทำได้ 3. แบ่งงานออกตามขั้นตอน เพื่อให้คนงานได้ทำงานในขั้นตอนที่ เขาสามารถทำได้ดีที่สุดมากที่สุด ฯลฯ
การจัดการจึงควรต้องเน้นที่การปรับปรุงระบบการผลิต ที่ผู้บริหารควรจะต้องปฏิบัติดังนี้ • วางวิธีการทำงานของแต่ละคนด้วยหลักเกณฑ์ที่ทดลอง • แล้วว่า เป็นวิธีที่ดีที่สุด (One best way) • มีระบบการคัดเลือกบุคคลและจัดบรรจุบุคคลเข้า • วิทยาศาสตร์สมัยใหม่
ให้ความร่วมมือกับคนงานเสมอและคำนึงถึงว่าการทำงานให้ความร่วมมือกับคนงานเสมอและคำนึงถึงว่าการทำงาน • ที่มีประสิทธิภาพ 4. ผู้บริหารจะต้องรับผิดชอบงานด้านการวางแผนงาน
A Piece Rate System หลักการของการกำหนดค่าจ้างตามวิธีการนี้ได้แบ่งอัตรา ค่าจ้างเป็น 2 แบบคือ 1. อัตราหนึ่งใช้สำหรับผลผลิตที่ยังไม่ถึงมาตรฐาน 2. อีกอัตราหนึ่งจะใช้กับระดับผลผลิตที่เท่ากับหรือ สูงกว่ามาตรฐาน
ตัวอย่างเช่น มาตรฐานกำหนดให้คนงานต้องผลิตสินค้าได้วันละ 100 หน่วย (การกำหนดมาตรฐานต้องศึกษามาจาก Time and Motion Study) อัตราค่าจ้างหน่วยละ 1.20 บาท สำหรับระดับการผลิตตั้งแต่ 0-99 หน่วย แต่ในกรณีที่คนงานผลิตได้ตั้งแต่ 100 หน่วย หรือมากกว่า อัตราค่าจ้างต่อหน่วยจะเท่ากับ 1.35 บาท ดังนั้น ถ้าคนงานผลิตสินค้าได้ 99 หน่วย เขาจะได้ผลตอบแทน 118.80 บาท (99x1.20)และในกรณีที่คนงานอีกคนหนึ่งผลิตสินค้าได้ 100 หน่วย เขาจะได้ผลตอบแทน 135 บาท (100x1.35)
ค.ศ. 1903Taylor ได้เขียนหนังสือเรื่อง “Shop Management” ปี ค.ศ. 1910 ได้เขียนหนังสือซึ่งได้รับความนิยมสูงสุดของเขาคือ “The Principles of Scientific Management”
ตัวอย่างการศึกษาถึงหลักการบริหารตามหลัก วิทยาศาสตร์ของ Taylor 1. การขนแร่เหล็ก 2. การทดลองตักวัตถุ
การขนแร่เหล็ก การทดลองของ Taylor เป็นเรื่องของการขนแร่เหล็กที่ออกจากเตาหลอมไปยังรถบรรทุกที่บริษัท Bethlehem Steel
การทดลองตักวัตถุ การทดลองนี้นำชื่อเสียงมาให้แก่ Taylor อย่างมาก เมื่อ Taylor เข้ามาทำงานที่บริษัท Bethlehem Steel
ผู้สนับสนุนแนวความคิดของ Taylor บุคคลสำคัญที่สนับสนุนแนวความคิดของ Taylor ก็คือ Hary L. Gantt และสองสามีภรรยา Frank Bunker Gilbreth and Lillian Moller Gilbreth
Henry L. Gantt ควรมีการกำหนดผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษในรูปของโบนัส สำหรับคนงานที่สามารถทำงานได้ตามที่มอบหมายในแต่ละวัน
FrankBunker Gilbreth Lillian Moller Gilbreth จัดทำภาพยนตร์แสดงการเคลื่อนไหวของคนงาน เพื่อชี้ให้แสดงถึงการเคลื่อนไหวที่สูญเปล่า และไม่มีผลทางการผลิต และเคลื่อนไหวที่จำเป็นในการทำงาน ทั้งนี้โดยเรียกความเคลื่อนไหวพื้นฐานนี้ว่า Therblig
Henri J. Fayol ความแตกต่างระหว่างการศึกษาของ Fayol และTaylor อยู่ที่ว่า Fayol มุ่งสนใจที่ ผู้บริหารหรือผู้จัดการระดับสูง ขององค์การ ในขณะที่ Taylor มุ่งศึกษาโดยเน้นความสนใจ ที่ผู้บริหารระดับต่ำหรือคนงาน
Fayol ได้แบ่งงานด้านอุตสาหกรรมเป็น 6 กลุ่มด้วยกันคือ1. Technical (Production)2. Commercial (Buying, Selling, and Exchange)3. Financial (Serch for and Optimum use of persons)4. Security (Protection of property and persons)5. Accounting (including statistics)6. Managerial (planning organizing commanding coordinating and controlling)
Fayol ให้ความสนใจในกลุ่มที่ 6 เกี่ยวกับเรื่องการจัดการทั้งนี้เนื่องจากได้มีผู้กล่าวถึง 5 กลุ่มแรกกันมากแล้วและเขาก็ได้เน้นถึงคุณภาพของผู้จัดการที่ดีต้องมีคุณสมบัติดังนี้ 1. ร่างกายที่แข็งแรง (มีสุขภาพอนามัยดี) 2. มีสติปัญญา (มีความสามารถเข้าใจ เรียนรู้ ริเริ่ม ตัดสินใจและปรับตัว) 3. มีจริยธรรม (มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ รู้จักกาลเทศะ จงรักภักดี) 4. มีการศึกษา (มีความรู้) 5. มีความสามารถและเทคนิควิธีการในการจัดการ 6. มีประสบการณ์
Fayol ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้บุกเบิกแนวความคิด เกี่ยวกับการจัดการเชิงบริหาร (Administrative Management)
หน้าที่ของนักบริหาร • (Management Functions) มีดังนี้ • 1.1 การวางแผน (Planning) • 1.2 การจัดองค์การ (Organizing) • 1.3 การสั่งการ (Directing) • 1.4 การประสานงาน (Coordination) • 1.5 การควบคุม (Controlling)
หลักการบริหาร • (Management Principle) • Fayol ได้วางหลักการบริหารงานเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของผู้บริหารที่ใช้ได้ทั่วไป 14 ข้อ ดังต่อไปนี้ • 1. Division of Work • 2. Authority
3. Discipline 4. Unity of Command 5. Unity of Direction 6. Subordinationof IndividualInterestto the General Interest
7. Remuneration of Personnel 8. Centralization 9. Scalar Chain 10. Order 11. Equity 12. Stability of Tenture of Personnel
Initiative • Esprit de Corps
ยุคที่ 3 แนวความคิดของมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relations)
George Elton Mayo Mayo เป็นนักจิตวิทยาชาวออสเตรเลีย เริ่มงานวิชาชีพ ในการสอนจริยธรรม ปรัชญา และตรรกวิทยา ที่มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์
“Hawthorne Experiment” • โดยแบ่งการศึกษาทดลองออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ • Room studies • ทำการทดลองระหว่างปี ค.ศ. 1924 - 1927 • Interviewing studies • ทำการทดลองระหว่างปี ค.ศ. 1928 - 1931 • 3. Observational studies ทำการทดลอง ระหว่างปี ค.ศ. 1931 - 1932
การศึกษาทดลองภายในห้องการศึกษาทดลองภายในห้อง • (Room studies) 1.1 การปรับสภาพความชื้นของอุณหภูมิในห้องให้มีสภาพต่างๆกัน 1.2 จัดให้ทำงานและหยุดเป็นระยะๆ 1.3 เปลี่ยนแปลงการทำงานไม่ให้ทำซ้ำๆซากๆในงานอย่างเดียวกัน นานๆ 1.4 เพิ่มค่าจ้างแรงงานเพื่อเป็นเครื่องจูงใจ 1.5 เปลี่ยนแปลงวิธีการควบคุมงาน
2. การศึกษาโดยการสัมภาษณ์ (Interviewing studies) การทดลองนี้ได้สัมภาษณ์คนงานในโรงงานรวม 2,000 คน จากทุกๆ แผนกของบริษัท ได้จัดโครงการที่ปรึกษาพนักงานเจ้าหน้าที่ (Employee Counseling Program)
การศึกษาโดยการสังเกต • (Observational studies) • คนงานมิใช่วัตถุหรือสิ่งของที่จะซื้อหามาด้วยเงิน • ประสิทธิภาพของการทำงาน • มิได้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่ดีแต่เพียงอย่างเดียว • 3. การแบ่งงานกันทำตามลักษณะเฉพาะอย่าง • (Specialization) • 4. พนักงานในระดับสูง การจูงใจทางด้านจิตใจ (Mental Motivation)
สรุป ทั้ง Organization Without Man กับ Man Without Organization ต่างก็มีข้อบกพร่องด้วยกันทั้งคู่
Mary Parker Follett กล่าวว่าในการจัดการหรือการบริหารงาน จำเป็นต้องมีการประสานงาน 4 ชนิด ดังต่อไปนี้ 1. การประสานงานโดยการติดต่อโดยตรงกับตัวบุคคลที่รับผิดชอบงานนั้นๆ 2. การประสานงานในระยะเริ่มแรกหรือในขั้นวางแผนกิจกรรมต่างๆ 3. การประสานงานที่เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในกิจกรรมทุกอย่างที่กระทำ 4. การประสานงานที่กระทำเป็นกระบวนการต่อเนื่อง
Chester Irving Barnard เป็นบุคคลแรกที่เขียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ ประสงค์ของตัวบุคคล และวัตถุ-ประสงค์ขององค์การ
AbrahamHarold Maslow อธิบายได้ว่าเมื่อความต้องการนั้นได้รับการตอบสนองแล้ว ความต้องการของมนุษย์ก็จะเลื่อนขึ้นไปอีกเป็นขั้นๆ