540 likes | 783 Views
Financial Study and Analysis. Dr. Kittipong S. Topics. แหล่งเงินทุนของโครงการ ต้นทุนเงินทุนของโครงการ การประมาณด้านการเงินของโครงการ การประเมินผลตอบแทนของโครงการ. แหล่งเงินทุนของโครงการ. แหล่งเงินทุนระยะสั้น แหล่งเงินทุนระยะยาว. แหล่งเงินทุนระยะสั้น. สินเชื่อทางการค้า
E N D
Financial Study and Analysis Dr. Kittipong S.
Topics • แหล่งเงินทุนของโครงการ • ต้นทุนเงินทุนของโครงการ • การประมาณด้านการเงินของโครงการ • การประเมินผลตอบแทนของโครงการ
แหล่งเงินทุนของโครงการแหล่งเงินทุนของโครงการ • แหล่งเงินทุนระยะสั้น • แหล่งเงินทุนระยะยาว
แหล่งเงินทุนระยะสั้น • สินเชื่อทางการค้า • ตราสารพาณิชย์หรือเอกสารการค้า • เงินกู้ระยะสั้น • เงินกู้ชนิดไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน • เงินกู้ชนิดมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน
แหล่งเงินทุนระยะยาว • หนี้สินระยะยาว • การกู้ระยะยาว • หุ้นกู้หรือพันธบัตร
แหล่งเงินทุนระยะยาว • ส่วนของเจ้าของ • การออกหุ้นบุริมสิทธ์ • การออกหุ้นสามัญ
Acquiring Capital • Debt • Equity To determine an appropriate mix of Debt and Equity (Stock) in a firm capital structure is essential • Using EPS/EBIT analysis • Earnings per share/Earnings before Interest and Taxes • Debt,cost of debt can endanger stockholders’ return • Stock may concern dilution of ownership,stock price,future earning with all new share holders
EPS-EBIT Analysis(in $millions) • Amount Needed: $500 • Stock Price $40 • EBIT Range $1000 to $2000 • Tax Rate = 26% • Interest Rate 5% • # Shares Outstanding 350
EPS-EBIT Analysis (in $ millions) • Conclusion: Company should use debt to raise the $500 million
ต้นทุนเงินทุนของโครงการต้นทุนเงินทุนของโครงการ • ต้นทุนเงินทุนของหนี้(เงินกู้/หุ้นกู้) • ต้นทุนเงินทุนของหุ้นบุริมสิทธิ์ • ต้นทุนเงินทุนของหุ้นสามัญ
ต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยของโครงการต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยของโครงการ 1.คำนวณต้นทุนเงินทุนของแต่ละแหล่ง 2.กำหนดโครงสร้างของเงินทุนจากแต่ละแหล่ง/จำนวน 3.คำนวณหาสัดส่วนของแต่ละแหล่ง 4.หาผลคูณระหว่างสัดส่วนกับต้นทุนแต่ละแหล่ง 5.ผลรวมในข้อ 4 คือต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ย
ต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยของโครงการต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยของโครงการ
การใช้ต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยในการวิเคราะห์โครงการการใช้ต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยในการวิเคราะห์โครงการ • จากการคำนวณต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ย = 14.25 % • เนื่องจากมีความเสี่ยงของโครงการในการที่จะไม้ได้ผลตอบแทนตามที่คาดการ ซึ่งผู้ลงทุนต้องการผลตอบแทนจำนวนหนึ่งมาชดเชย สามารถเรียกได้ว่า ส่วนชดเชยความเสี่ยง • ดังนั้น: อัตราผลตอบแทนขั้นต่ำ = ต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ย + ส่วนชดเชยความเสี่ยง
การประมาณการด้านการเงินของโครงการการประมาณการด้านการเงินของโครงการ • ค่าใช้จ่ายในโครงการ • ขั้นตอนในการประมาณการค่าใช้จ่ายของโครงการ • ผลตอบแทนโครงการ • ขั้นตอนในการประมาณการผลตอบแทนของโครงการ • การประมาณการกระแสเงินสดสุทธิรายปีของโครงการ • การประมาณการงบกำไรขาดทุนของโครงการ • การประมาณการงบดุลของโครงการ
ค่าใช้จ่ายโครงการ • ค่าใช้จ่ายที่มีตัวตน : ค่าใช้จ่ายที่สามารถคิดเป็นมูลค่าได้ • ค่าใช้จ่ายลงทุน • ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน • ค่าใช้จ่ายที่ไม่มีตัวตน : ค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถคิดเป็นมูลค่าได้ • ผลกระทบต่อสังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม • ค่าทัศนคติ
ค่าใช้จ่ายลงทุน • เงินลงทุนในสินทรัพย์ถาวร • ที่ดินและค่าพัฒนาที่ดิน • อาคารและสิ่งก่อสร้าง • เครื่องจักรและอุปกรณ์ • ค่าใช้จ่ายก่อนการดำเนินงาน : ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นนับตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึงวันที่เริ่มดำเนินการผลิตหรือให้บริการ • เงินทุนหมุนเวียน : เงินทุนหมุนเวียนสุทธิที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงานโครงการ เงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน - หนี้สินหมุนเวียน
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน • ค่าใช้จ่ายในการผลิต • ค่าวัตถุดิบทางตรง • ค่าแรงทางตรง • ค่าใช้จ่ายการผลิต : ค่าวัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงทางอ้อม ของใช้สิ้นเปลือง • ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร • เงินเดือนผู้บริหาร ค่านายหน้า ค่าเช่าสำนักงาน ค่าน้ำ ค่าไฟ
ขั้นตอนการประมาณค่าใช้จ่ายขั้นตอนการประมาณค่าใช้จ่าย • ระบุรายการและปริมาณค่าใช้จ่าย • ประมาณค่าใช้จ่าย • รวมค่าใช้จ่ายเป็นรายปี
ประมาณการเงินลงทุนทั้งสิ้นของโครงการประมาณการเงินลงทุนทั้งสิ้นของโครงการ
การประมาณค่าใช้จ่ายในการผลิตรายปีการประมาณค่าใช้จ่ายในการผลิตรายปี
การประมาณค่าใช้จ่ายในการขายการประมาณค่าใช้จ่ายในการขาย
การประมาณค่าใช้จ่ายในการบริหารการประมาณค่าใช้จ่ายในการบริหาร
สรุปการประมาณค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานสรุปการประมาณค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
การประมาณผลตอบแทนของโครงการการประมาณผลตอบแทนของโครงการ • ระบุรายการและปริมาณผลตอบแทน • รายได้จากการขายสินค้าหรือบริการ • การประหยัดค่าใช้จ่ายจากโครงการ • ประมาณผลตอบแทน • หาจากปริมาณขาย X ราคาขายต่อหน่วย • รวมผลตอบแทนเป็นรายปี • รวมผลตอบแทนทุกประเภท ในแต่ละปี ตลอดอายุโครงการ
การประมาณกระแสเงินสดสุทธิรายปีของโครงการการประมาณกระแสเงินสดสุทธิรายปีของโครงการ กระแสเงินสดสุทธิรายปี = กระแสเงินสดรับรายปี – กระแส เงินสดจ่ายรายปี
ประมาณการกระแสเงินสดสุทธิรายปีประมาณการกระแสเงินสดสุทธิรายปี
ประมาณงบกำไรขาดทุนของโครงการประมาณงบกำไรขาดทุนของโครงการ
ประมาณการงบดุลโครงการสินทรัพย์ประมาณการงบดุลโครงการสินทรัพย์
ประมาณการงบดุลโครงการหนี้สินและส่วนของเจ้าของประมาณการงบดุลโครงการหนี้สินและส่วนของเจ้าของ
การประเมินผลตอบแทนของโครงการการประเมินผลตอบแทนของโครงการ
การประเมินกระแสเงินสด (Capital Budgeting: Evaluating Cash Flows) เราควรจะสร้างโรงงานนี้หรือไม่ ?
ความหมายของ Capital Budgeting • การวิเคราะห์ศักยภาพในการเพิ่มทรัพย์สินคงที่ • ใช้ในการตัดสินใจระยะยาว และค่าใช้จ่ายที่สูงๆ • มีความสำคัญต่ออนาคตขององค์กร
ขั้นตอนในการประเมิน • 1. ประมาณการ CFs (inflows & outflows). • 2. ประเมินความเสี่ยงของ CFs • 3. กำหนดค่า k = WACC (weighted average cost of capital) สำหรับ project • หาค่า NPV และ IRR • 5. ยอมรับโครงการ ถ้า NPV > 0 และ/หรือ IRR > WACC
ความหมายของ Payback Period ระยะเวลาคืนทุน : จำนวนปีที่โครงการสามารถได้ผลตอบแทนคืนจากการดำเนินการเท่ากับเงินลงทุน
Payback สำหรับ Project L 0 1 2 3 CFt -100 10 60 80
Payback สำหรับ Project L 2.4 0 1 2 3 CFt -100 10 60 100 80 -30 2 + 30/80 = 2.375 years PaybackL =
Project S 0 1 2 3 CFt -100 70 20 50
Project S 1.6 0 1 2 3 CFt -100 70 20 50 -30 1 + 30/50 = 1.6 years ระยะเวลาPaybackS =
ข้อดีของ Payback: 1. ใช้ในการพิจารณาความเสี่ยงและสภาพคล่องของโครงการ (risk and liquidity) 2. ง่ายต่อการคำนวณและเข้าใจ ข้อเสียของ Payback: 1. ไม่มีการใช้มูลค่าตามระยะเวลา ( Time Value of Money: TMV) 2. ไม่ได้มีการพิจารณาค่า CFs ที่เกิดขึ้นหลังจาก payback period.
Payback ที่คิดส่วนลด (Discounted Payback) 0 1 2 3 10% CFt -100 10 60 80
Discounted Payback 0 1 2 3 10% CFt -100 10 60 80
Discounted Payback 0 1 2 3 10% CFt -100 10 60 80 60.11 PVCFt -100 9.09 49.59 1 PVCF1 = 10 / (1 + 0.1) = 9.09 2 PVCF2 = 60 / (1 + 0.1) = 49.59
Discounted Payback 0 1 2 3 10% CFt -100 10 60 80 PVCFt -100 9.09 49.59 60.11 -41.32 Discounted payback 2 + 41.32/60.11 = 2.7 yrs =
NPV: ผลรวมของ PVs inflows and outflows. เงินลงทุนจะเท่ากัน CF0และจะเป็นเชิงลบ
การหาค่าNPVของ Project L Project L: 0 1 2 3 10% -100.00 10 60 80 9.09 49.59 60.11 18.79 = NPVL
การประเมินโดยใช้หลักการของวิธี NPV (Net Present Value : มูลค่าปัจจุบันสุทธิ) NPV = PV inflows - Cost = ผลตอบแทนที่ได้รับ ยอมรับโครงการ ถ้า NPV > 0 (มีค่าเป็นบวก)
การหาอัตราผลตอบแทนที่แท้จริงของโครงการ(Internal Rate of Return: IRR) 0 1 2 3 CF0 CF1 CF2 CF3 Inflows Cost IRR เป็นค่าอัตราส่วนลดที่ทำให้ PV inflows = cost หรือ NPV = 0
การหาค่า IRR : ให้กำหนดค่า k เพื่อให้ค่า NPV=0 IRR: กำหนดให้ NPV = 0, คำนวณหาค่า IRR