870 likes | 1.42k Views
กระบวนทัศน์การวิจัยทางหลักสูตรและการสอน ดร. มารุต พัฒ ผล rutmarut@gmail.com 081 - 2996882 นักศึกษาปริญญาเอก สาขา หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร 18 ตุลาคม 2557 (ครั้งที่ 1 ). The Concepts of Learning. 1. Fundamental of research
E N D
กระบวนทัศน์การวิจัยทางหลักสูตรและการสอนกระบวนทัศน์การวิจัยทางหลักสูตรและการสอน ดร.มารุต พัฒผล rutmarut@gmail.com 081 - 2996882 นักศึกษาปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร 18 ตุลาคม 2557 (ครั้งที่ 1)
The Concepts of Learning 1. Fundamental of research 2. Research model of The King of Thailand 3. Research problems & Research questions 4. Research problem & Research question Workshop 5. Lesson Learned
การสัมมนา คำว่า “สัมมนา” เป็นคำศัพท์บัญญัติขึ้นโดย มล.ปิ่น มาลากุล แปลมาจากภาษาอังกฤษว่า seminar หมายถึง Meeting of Minds ภาษาลาติน seminariumหมายถึง แปลงเพาะเมล็ด โดยเชิญศึกษาธิการจังหวัดทั่วประเทศ มาสัมมนาเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ที่อาคาร 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปัจจุบันคือ อาคารคณะพลศึกษา มารุต พัฒผล : 2557
ในการสัมมนาต้องมีประเด็น (Theme)ของการสัมมนา และมีการนำเสนอความคิด การวิเคราะห์ การอภิปราย มีเหตุผลทางวิชาการสนับสนุน หรือโต้แย้ง และหาข้อสรุปร่วมกัน รวมทั้งการถอดบทเรียน เพื่อหาข้อสรุปในเชิงองค์ความรู้ มารุต พัฒผล : 2557
การให้เหตุผลเชิงวิชาการการให้เหตุผลเชิงวิชาการ (Academic Reasoning) การอ้างหลักฐานทางวิชาการ เช่น ผลการวิจัย ทฤษฎี ประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง หลักฐานเชิงประจักษ์ เพื่อสนับสนุนแนวความคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือยืนยันว่าข้อสรุปขององค์ความรู้เป็นสิ่งที่ถูกต้อง มารุต พัฒผล : 2557
จุดมุ่งหมายของการสัมมนาจุดมุ่งหมายของการสัมมนา 1. เพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน 2. เพื่อการตัดสินใจ 3. เพื่อการแก้ปัญหา มารุต พัฒผล : 2557
องค์ประกอบของการสัมมนาองค์ประกอบของการสัมมนา 1. จุดมุ่งหมายของการสัมมนา 2. Core reading / Concept paper และประเด็นการสัมมนา 3. ผู้เข้าร่วมการสัมมนา 4. สรุปผลการสัมมนา มารุต พัฒผล : 2557
คุณลักษณะที่ดีของการสัมมนาคุณลักษณะที่ดีของการสัมมนา 1. แต่ละกลุ่มย่อยต้องมีการอภิปราย แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในประเด็นการสัมมนาร่วมกัน 2. แต่ละกลุ่มย่อยมีการสรุปประเด็นการสัมมนา และการนำเสนอในกลุ่มใหญ่ โดยมีการอภิปรายประเด็นที่เห็นด้วย ประเด็นที่เห็นแย้ง 3. มีการสรุปประเด็นการสัมมนาของกลุ่มใหญ่ โดยการสังเคราะห์ ผลการสัมมนาของกลุ่มย่อย 4. การถอดบทเรียนเป็นองค์ความรู้ภายหลังเสร็จสิ้นการสัมมนา มารุต พัฒผล : 2557
Concept paper เอกสารสรุปแนวความคิดของการวิจัย ที่นำเสนอสาระสำคัญอย่างเป็นระบบ สามารถพัฒนาต่อยอดเป็นเค้าโครงการวิจัย (research proposal)ต่อไปได้ มารุต พัฒผล : 2557
องค์ประกอบของ Concept paper 1. ความเป็นมา 2. วัตถุประสงค์การวิจัย 3. ขอบเขตของการวิจัย 4. นิยามศัพท์เฉพาะ 5. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6. กรอบความคิดของการวิจัย 7. วิธีดำเนินการวิจัย 8. เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรม มารุต พัฒผล : 2557
ขั้นตอนการเขียน Concept paper 1. กำหนดจุดมุ่งหมาย 2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - สืบค้น - ประเมินคุณค่า - อ่านและจดบันทึก 3. สังเคราะห์สาระสำคัญ 4. เขียนเรียบเรียงแต่ละประเด็นและเชื่อมโยง มารุต พัฒผล : 2557
การถอดบทเรียน (Lesson and Learned) การถอดบทเรียนคืออะไร - หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์หลังการปฏิบัติ หรือการทำกิจกรรมเพื่อการจัดการความรู้ - เป็นการให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบต่อคณะทำงาน เกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว เป็นการกระตุ้นให้คณะทำงานเกิดความตื่นตัวและมีความรู้สึก ผูกพัน (involve) อยู่กับงาน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
วิธีการถอดบทเรียน 1. ต้องตอบโจทย์ การถอดบทเรียนอะไร เพื่ออะไร 2. ใคร คือบุคคลที่จะถอดบทเรียน การถอดบทเรียนของคนอื่น หรือการถอดบทเรียนตัวเอง 3. วิธีการถอดบทเรียน ควรเลือกวิธีการให้เหมาะสมกับผู้ถอดบทเรียน 4. บทเรียนที่ดี (Best Practice) อาจจะมีประเด็นที่คล้ายกัน แต่แตกต่างบริบท การหาบทเรียนที่ดีถือว่าได้ความรู้ที่มีคุณค่า มีพลัง วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
5. สุนทรียสนทนา (Dialogue) จะเป็นกลไกสำคัญ ในการถอดบทเรียนที่มากกว่าการตั้งคำถาม 6. บทเรียนมิใช่ความแตกต่างที่เกิดขึ้น จากสิ่งที่คาดหวังกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ตามนัยของการตั้งสมมติฐานการวิจัย อะไรที่ทำให้เกิดความแตกต่างนั้น เป็นปัจจัยก่อให้เกิดพฤติกรรมอย่างไร สิ่งนี้คือบทเรียน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
หัวข้อการเรียนรู้ วัน เวลา สถานที่ สรุปประเด็นการถอดบทเรียน ใบงานการถอดบทเรียน คำชี้แจง ให้ผู้เรียนทบทวนถึงสาระและกิจกรรมการเรียนรู้และถอดบทเรียนลงในตาราง แล้วนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน อะไรคือสิ่งที่คาดหวัง จากการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้ในการเรียนครั้งนี้ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
หัวข้อการเรียนรู้ วัน เวลา สถานที่ สรุปประเด็นการถอดบทเรียน เชื่อสิ่งที่ได้เรียนรู้จากผู้สอนหรือไม่ ถ้าเชื่อ เชื่ออย่างไร เหตุใดจึงเชื่อ ทำไมคิดว่าองค์ความรู้ที่ได้รับ จากผู้สอนเป็นสิ่งที่ถูกต้อง ถ้าไม่เชื่อมีสาเหตุมาจากอะไร ทำไมจึงคิดว่าสิ่งที่ผู้สอนพูดไม่ถูกต้อง วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
พลังการเรียนรู้ ปริมาณการเรียนรู้ บรรยาย 5% การรับสาร 10% การอ่าน การใช้สื่อเคลื่อนไหว 20% การเรียนรู้ จากสื่อ การสาธิต 30% การอภิปรายกลุ่ม 50% การปฏิบัติ การฝึกปฏิบัติ 75% การถ่ายทอดบุคคลอื่น / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 90% วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
วินัยชีวิต (Life discipline) การมีวินัยในตนเองที่สามารถ กำหนดเป้าหมายของชีวิตได้ กำกับตนเองได้ และควบคุมตนเองได้ ทั้งความคิดและพฤติกรรม นำไปสู่การบรรลุเป้าหมายของชีวิต มารุต พัฒผล : 2557
ยักษ์ 2 ตา กินคนทั้งโลก ยักษ์ตาดำ เวลากลางคืน ยักษ์ตาขาว เวลากลางวัน เวลากลืนกินชีวิต หมดเวลาโดยไม่รู้ตัว มารุต พัฒผล : 2557
เรามักเห็นคุณค่าของ เวลา เมื่อเราไม่มีเวลา มารุต พัฒผล : 2557
กรอบแนวคิดการจัดการเรียนการสอนกรอบแนวคิดการจัดการเรียนการสอน วิชาสถิติขั้นสูงและวิธีวิจัยทางหลักสูตรและการสอน ความต้องการของผู้เรียน ความคาดหวังของรายวิชา การบรรยาย การลงมือปฏิบัติ การนำเสนอโดยสัมมนา การให้คำแนะนำ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การปรับปรุงแก้ไข การรายงานความก้าวหน้า ความรู้วิจัย ทักษะวิจัย จริยธรรมวิจัย Concept paper โครงการวิจัย ที่คาดว่าจะทำ เป็นวิทยานิพนธ์ มารุต พัฒผล : 2557
การวิจัย (research) การแสวงหาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างเป็นระบบขั้นตอน ด้วยวิธีการที่มีความเชื่อถือได้ มารุต พัฒผล : 2557
ธรรมชาติของการวิจัย 1. เริ่มต้นจากปัญหาที่ผู้วิจัยต้องการทราบ 2. มีวัตถุประสงค์การวิจัยชัดเจน 3. เป็นการกระทำที่มีแบบแผนที่เชื่อถือได้ 4. การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบชัดเจน 5. การวิจัยต้องอาศัยเครื่องมือที่มีคุณภาพ 6.การวิจัยเป็นกระบวนการที่ต้องใช้เหตุผล สรุป และอภิปรายผล โดยปราศจากความลำเอียง 7. การวิจัยต้องต้องมีการบันทึกข้อมูลที่ได้มาอย่างละเอียดทุกขั้นตอน 8. การวิจัยต้องมีการเผยแพร่เป็นลายลักษณ์อักษร 9. การวิจัยต้องการความรอบรู้ในระเบียบวิธีวิจัย มารุต พัฒผล : 2557
คุณค่าของการวิจัย 1. เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นผลจากการทำวิจัย 2. เข้าใจปรากฏการณ์ สถานการณ์ต่างๆ อย่างถูกต้อง 3. ช่วยค้นหาสาเหตุของปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา 4. ช่วยวางแผนและกำหนดนโยบาย 5. ช่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มารุต พัฒผล : 2557
การวิจัย ช่วยให้การศึกษาบรรลุจุดมุ่งหมาย พระพรหมคุณาภรณ์ มารุต พัฒผล : 2557
บูรณาการการวิจัย เข้าไปในวิถีชีวิตประจำวัน พระพรหมคุณาภรณ์ มารุต พัฒผล : 2557
ลักษณะของการวิจัย การวิจัยพื้นฐาน เป็นการวิจัยที่มุ่งสร้างความรู้พื้นฐาน นำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน กำหนดนโยบาย ส่วนมากเป็นการวิจัยสำรวจในเชิงปริมาณ การวิจัยประยุกต์ เป็นการวิจัยที่มีความเป็นระบบ มีการกำหนดจุดมุ่งหมายและปัญหาของการวิจัย มีการวางแผนการวิจัยที่ชัดเจน ตอบสนองความอยากรู้เฉพาะเรื่อง มารุต พัฒผล : 2557
ประเภทของการวิจัย การวิจัยแบ่งออกเป็นหลายประเภทขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ในที่นี้ใช้ลักษณะข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ซึ่งสามารถแบ่งได้ ๓ประเภทดังนี้ 1. การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการวิจัยที่อาศัยข้อมูลจำนวนมากเพื่อสรุปเป็นองค์ความรู้ ซึ่งได้มาจากการวิเคราะห์ค่าสถิติต่างๆ แล้วสรุปผลการวิจัยจากค่าสถิตินั้น 2. การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการวิจัยที่ไม่เน้นข้อมูลในปริมาณมาก แต่จะเน้นการค้นหารายละเอียดต่างๆ ในเชิงลึก ซึ่งได้มาจากการสังเกต การสัมภาษณ์ และการทำความเข้าใจเป็นหลัก แล้วสรุปผลการวิจัยจากความรู้และความเข้าใจของนักวิจัยเอง 3. การวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed method) เป็นการวิจัยที่ใช้ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเป็นกระบวนการในการวิจัย มารุต พัฒผล : 2557
การวิจัยเป็นกระบวนการการวิจัยเป็นกระบวนการ การดำเนินงานทุกอย่างเป็นไปตามขั้นตอนมีระบบ ศึกษาขั้นตอนและกิจกรรมต้องทำทีละขั้นตอน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
ขั้นตอนการวิจัย 1. การกำหนดคำถามวิจัย 2. การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย 3. การสร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผลการวิจัย มารุต พัฒผล : 2557
การวิจัยที่มีคุณภาพ 1. ถูกต้อง (Exactness) 2. เป็นระบบ (Systematic) 3. เป็นประโยชน์ (Utility) 4. สมบูรณ์ครบถ้วน (Complete) 5. ชัดเจน (Clarity) 6. มีลักษณะเฉพาะ (Specification) มารุต พัฒผล : 2557
การวิจัยมี 6ประเด็น 1. สาเหตุของการทำวิจัย 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย จะมีความสำคัญมากที่สุด เพราะจะเป็นตัวบอกทิศทางเป้าหมายของการวิจัย 3. วิธีดำเนินการวิจัย 4. สถานที่ที่ทำวิจัย 5. เรื่องที่ต้องการวิจัย 6. ผู้กระทำการวิจัยหรือข้อมูลที่ได้มาจากการชี้แนะ ของคณะที่ปรึกษา มารุต พัฒผล : 2557
จรรยาบรรณของนักวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (2541) ได้กำหนดจรรยาบรรณของนักวิจัยดังนี้ 1. นักวิจัยต้องมีความซื่อสัตย์สุจริตในทางวิชาการ 2. นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำวิจัยตามข้อตกลงที่ทำไว้ กับหน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัยและต่อหน่วยงานที่ตนสังกัด 3. นักวิจัยต้องมีความรู้ในสาขาวิชาที่ตนทำวิจัย 4. นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย 5. นักวิจัยต้องเคารพสิทธิและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 6. นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด ดำเนินการวิจัยโดยปราศจากอคติใดๆ 7. นักวิจัยต้องนำผลการวิจัยไปใช้ในทางที่ถูกต้องดีงาม 8. นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น 9. นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ มารุต พัฒผล : 2557
สิทธิพื้นฐานของเด็ก 1. สิทธิในการอยู่รอด (Right of Survival) - มีชีวิตรอด ส่งเสริมชีวิต โภชนาการที่ดี ความรักเอาใจใส่จากครอบครัวและสังคม บริการสุขภาพ ทักษะชีวิต ที่อยู่อาศัยและการเลี้ยงดู 2. สิทธิในการปกป้องคุ้มครอง (Right of Protection) - การเลือกปฏิบัติ ถูกทอดทิ้ง ล่วงละเมิด ละเลย ลักพาตัว ใช้แรงงาน ความยุติธรรม เอาเปรียบทางเพศ 3. สิทธิในการพัฒนา (Right of Development) - ได้รับการศึกษา เข้าถึงข่าสาร เสรีภาพในความคิด มโนธรรม ศาสนา พัฒนาบุคลิกภาพ สุขภาพร่างกาย 4. สิทธิในการมีส่วนร่วม (Right of Participation) - การแสดงความคิดเห็น การติดต่อสื่อสาร มารุต พัฒผล : 2557
การวิจัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวการวิจัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
การวิจัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวการวิจัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงตั้งโจทย์ คือ 1. ทุกข์ ปัญหา 2. สมุทัย เหตุปัจจัย SWOT 3. นิโรธ ตั้งเป้าประสงค์ Target 4. มรรค วิธีทำ ทางเลือก 2 - 4 ทาง ด้วยกระบวนการ PDCA วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
โครงการพระราชดำริ โครงการพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ล้มเหลวเพราะพระองค์ทรงใช้หลักอริยสัจสี่ชัดเจน สอดคล้องกับหลัก ภูมิสังคมหมายถึงภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม ภูมิศาสตร์ ดิน น้ำ ลม ไฟ ป่า เขา สังคมศาสตร์ คน ครอบครัว ชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษา วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยม วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
วางแผน (Plan) ปฏิบัติ (Do) ถอดบทเรียน (Reflection) ตรวจสอบ (Check) ถอดบทเรียน (Reflection) ตรวจสอบ (Check) วางแผน (Re Plan) ปฏิบัติ (Do) วางแผน (Re plan) วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
P P P A D A D A D C C C วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
การบำบัดน้ำเสียตามพระราชดำริด้วย "กังหันน้ำชัยพัฒนา"
“ไบโอดีเซล” จากปาล์มประกอบอาหารสู่เชื้อเพลิงเครื่องยนต์“ไบโอดีเซล” จากปาล์มประกอบอาหารสู่เชื้อเพลิงเครื่องยนต์
การวิจัย ทฤษฎี การพัฒนา การปฏิบัติ วงจรของทฤษฎี การวิจัย การพัฒนา การปฏิบัติ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
ขั้นตอนการวิจัย 1. ระบุปัญหาวิจัย - กำหนดปัญหา - การทบทวน - ข้อเสนอแนะจากผู้เกี่ยวข้อง 2. ทบทวนเอกสาร - กำหนดขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับปัญหา - คัดเลือกแหล่งข้อมูล - สรุปข้อมูล วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
3. กำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย - กำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน - กำหนดสมมติฐาน 4. เลือกวิธีการออกแบบการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล - คัดสรรการออกแบบการวิจัยที่หลากหลาย - เลือกบุคคลและพื้นที่ที่จะศึกษา - การได้รับอนุญาต - การรวบรวมสารสนเทศ 5. วิเคราะห์ข้อมูล - การจำแนกข้อมูล - การนำเสนอข้อมูล วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
6. การอภิปรายผลการวิจัย - ผลการวิจัยสอดคล้องกับสิ่งที่ศึกษา - ข้อจำกัดที่พบ - ข้อเสนอแนะ - การนำผลการวิจัยไปใช้ - การทำวิจัยต่อไป 7. การเผยแพร่และการประเมินผลวิจัย - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การประเมินกระบวนการศึกษา วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
พิมพ์เขียวการออกแบบงานวิจัยพิมพ์เขียวการออกแบบงานวิจัย การเก็บ ข้อมูล การวิเคราะห์ ข้อมูล ปัญหา วัตถุประสงค์ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม สมมติฐาน แหล่งข้อมูล เครื่องมือ กรอบความคิดของการวิจัยประกอบด้วยตัวแปรต้นและตัวแปรตาม มารุต พัฒผล : 2557
มาตรฐานการวิจัยระดับปริญญาเอกมาตรฐานการวิจัยระดับปริญญาเอก 1. มีความริเริ่ม (Original) 2. มีความเป็นนวัตกรรม (Innovation) 3. มีความแข็งแกร่งทางวิชาการ (Strengthen) 4. มีประโยชน์ (Useful) วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
ประเด็นการวิจัยทางหลักสูตรและการเรียนรู้ประเด็นการวิจัยทางหลักสูตรและการเรียนรู้ 1. การวิจัยเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของหลักสูตร 2. การวิจัยเกี่ยวกับการบริหารหลักสูตร 3. การวิจัยเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ 4. การวิจัยเกี่ยวกับผลการใช้หลักสูตร 5. การวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการจัดหลักสูตร การบริหารหลักสูตร กิจกรรมการสอนของครู / ของนักเรียน และพฤติกรรมของนักเรียนอันเป็นผลมาจากการใช้หลักสูตร วิชัย วงษ์ใหญ่: 2557
6. การประเมินหลักสูตร 7. การวิจัยผลกระทบของชุมชนและสังคม 8. การวิจัยเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร 9. การวิจัยแสวงหานวัตกรรมที่เกี่ยวกับหลักสูตร 10. การเปรียบเทียบหลักสูตรของสังคมหนึ่งกับสังคมอื่น วิชัย วงษ์ใหญ่: 2557