241 likes | 581 Views
ENL 3701 ภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 Linguistics and Reading English 1. หัวข้อการบรรยาย ภาคเรียนที่ 1/2556. หัวข้อการบรรยายในสัปดาห์ 1/56. 1. ปฐมนิเทศการเรียน การสอนในสัปดาห์แรก 2. จุดประสงค์ของการเรียนในหน่วยที่ 1 3. เค้าโครงเรื่องและเนื้อหาในหน่วยที่ 1
E N D
ENL 3701 ภาษาศาสตร์และการอ่าน 1Linguistics and Reading English 1 หัวข้อการบรรยาย ภาคเรียนที่ 1/2556
หัวข้อการบรรยายในสัปดาห์ 1/56 • 1. ปฐมนิเทศการเรียน การสอนในสัปดาห์แรก • 2. จุดประสงค์ของการเรียนในหน่วยที่ 1 • 3. เค้าโครงเรื่องและเนื้อหาในหน่วยที่ 1 • 4. กิจกรรมการเรียน การสอนในสัปดาห์แรก • 5. การแบ่งกลุ่มอภิปรายและประเด็นปัญหาในการอภิปราย • 6. การฝึกทักษะในการตอบคำถามแบบอัตนัย-ปรนัย
ปฐมนิเทศการเรียนการสอนในสัปดาห์แรกปฐมนิเทศการเรียนการสอนในสัปดาห์แรก • 1. นักศึกษาสำรวจเอกสารกำหนดการเรียนการสอนในภาคเรียนนี้ • เพื่อทราบวัน-เวลาการเข้าฟังการบรรยายในชั้นเรียน ตึกเรียน และหัวข้อที่จะต้องเตรียมก่อนมาฟังการบรรยายในแต่ละสัปดาห์ • 2. นักศึกษาสำรวจตำราที่จะใช้ประกอบการเรียนการสอนในวิชานี้ • 3. นักศึกษาทราบกำหนดการงดบรรยายในระหว่างการสอบซ่อม (ทั่วไป)และกำหนดการสอบไล่ปลายภาคเรียนสำหรับวิชานี้ • 4. นักศึกษารู้วิธีวางแผนการเรียน การบริหารเวลาในการอ่านตำรา ทบทวนเนื้อหา และทำแบบฝึกหัด แต่ละหน่วยการเรียน นอกเวลาเรียน
เค้าโครงเรื่องการบรรยาย/อภิปรายเค้าโครงเรื่องการบรรยาย/อภิปราย ภาษาศาสตร์คืออะไร • 1. ความหมายของภาษา • 2. ความหมายของภาษาศาสตร์ • 3. ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ • 4. การแบ่งขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์
จุดประสงค์ (Objectives)ของการเรียน • 1. อธิบายความหมายของคำว่า “ภาษา” ได้ถูกต้อง • 2. อธิบายความหมายของคำว่า “ภาษาศาสตร์” ได้ถูกต้อง • 3. ลำดับประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์โดยสังเขปได้ชัดเจน • 4. จำแนกการแบ่งขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์ได้ครบถ้วน
กิจกรรมการเรียน การสอนในสัปดาห์แรก • 1. การบรรยาย การกำหนดประเด็นเนื้อหา การอภิปราย และการตอบคำถาม • 2. สัปดาห์แรกจะครอบคลุมเนื้อหา ๒ เรื่อง คือ • 2.1 ความหมายของภาษา • 2.2 ความหมายของภาษาศาสตร์ • 3. การเตรียมเนื้อหาและการอ่านเพื่อการเรียนในสัปดาห์ที่สอง • 3.1 ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ • 3.2 การแบ่งขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์
เนื้อหา “ความหมายของภาษา” • เอกสารตำรา ENL 3701 หน้า 4 – 8 • คำถามที่ให้ช่วยกันตอบ • 1.1 “ ภาษา” ตามความเห็นของนักภาษาศาสตร์มีลักษณะอย่างไร • การแบ่งกลุ่มศึกษาเนื้อหา และประเด็นปัญหา และการอภิปราย • 1. ภาษาเป็นเรื่องของมนุษย์ (Language is human) • ประเด็นปัญหา • 1.1 เพราะเหตุใดภาษาจึงเป็นเรื่องของมนุษย์เท่านั้น สัตว์ก็มีภาษาเหมือนกัน แต่ทำไมนักภาษาศาสตร์จึงไม่นับรวมอยู่ด้วย
ภาษาที่แท้จริงคือภาษาพูด (Language is primarily oral) • 1.2 ภาษามีหลายชนิด เช่น ภาษาพูด (Spoken ,Oral language)ภาษาเขียน (Written language) วจนภาษา (Verbal language) ภาษากายหรือภาษาท่าทาง (อวัจนภาษา Non-verbal language) ทำไมนักภาษาศาสตร์จึงให้ความสำคัญ หรือเน้นเฉพาะภาษาพูด
ภาษาถ่ายทอดวัฒนธรรมLanguage is culturally transmitted 2.1 ภาษากับวัฒนธรรมเหมือนกันหรืแตกต่างกัน 2.2 ภาษาถ่ายทอดวัฒนธรรมได้อย่างไร
ภาษาเป็นสิ่งที่กำหนดขึ้นและมีระบบ Language is arbitrary and systematic • 3.1 ภาษาเกิดขึ้นได้อย่างไร คำว่ามีระบบหมายถึงอย่างไร
ภาษาคือนิสัย (Languge is habit) 4.1 ที่ว่า “ภาษาคือนิสัย” มีความหมายว่าอย่างไร 4.2 มนุษย์เรียนรู้ภาษาได้ตั้งแต่เมื่อไร
ภาษาเป็นเรื่องเฉพาะตัว (Language is personal) 5.1 ภาษาเป็นเรื่องเฉพาะตัว มีลักษณะอย่างไร 5.2 ภาษาที่เป็นเรื่องเปิดเผยสู่สาธารณะ เป็นอย่างไร
ภาษาของแต่ละกลุ่มไม่มีดีหรือเลว ไม่มีถูกหรือผิด • Language of a given group is neither “good” or “bad” nor “right” or “wrong.” • 6.1 ทำไมจึงกำหนดว่าภาษาของคนในแต่ละกลุ่ม ไม่มี ดี หรือ เลว ถูก หรือ ผิด
ภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างช้าๆ(Language is always changed slowly) • 7.1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาในแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชนจะเป็นไปในลักษณะใด ยกตัวอย่างคำพูดที่เราเคยได้ยินเมื่อ 5 – 10 ปีก่อน ขณะนี้ยังมีอยู่หรือหายไปแล้ว
2.ความหมายของ “ภาษาศาสตร์” • ภาษาศาสตร์มีความหมายเป็น ๒ นัย • 1. การศึกษาธรรมชาติและโครงสร้างของภาษาใดภาษาหนึ่งและภาษาโดยทั่วไป • 2. การศึกษาธรรมชาติของการสื่อสารด้วยภาษา • แนวทางการอภิปราย • 1.1 ธรรมชาติและโครงสร้างของแต่ละภาษาเป็นอย่างไร ยกตัวอย่างเช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาเวียดนาม ฯลฯ • 1.2 ภาษาโดยทั่วไป (ภาษาสากล Language universal)
ธรรมชาติและโครงสร้างของภาษาธรรมชาติและโครงสร้างของภาษา
ตัวอย่างการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารตัวอย่างการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร • ภาษาไทยภาษาอังกฤษภาษาเวียดนาม • สบายดีไหม How are you? Ban co khoe khong • ฉันไม่สบาย I am sick. Toi bi om • ของฉันหาย I lost something. Bi mat do • ลาก่อน Goodbye Tam biet • แล้วพบกันใหม่ See you again. Hen gap lai
3.การศึกษาวิชา “ภาษาศาสตร์” • วิชาภาษาศาสตร์ (Linguistics) • นักภาษาศาสตร์ (Linguists) • คำถามที่ให้ช่วยกันตอบ • 1. ภาษาศาสตร์เป็นวิชาว่าด้วยอะไร • 2. นักภาษาศาสตร์มีวิธีการศึกษาภาษาอย่างไร