1 / 27

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

ภาษีธุรกิจเฉพาะ. ภาษีเงินได้นิติบุคคล. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา. ภาษีมูลค่าเพิ่ม. ภาษีเงินได้นิติบุคคล. ความหมายของนิติบุคคล. นิติบุคคล คือ บุคคลที่เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย. นิติบุคคลเกิดโดยกฎหมาย. กฎหมายที่ให้กำเนิดนิติบุคคล ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายพิเศษ. นิติบุคคลตาม ป.พ.พ.

gage-gaines
Download Presentation

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีมูลค่าเพิ่ม

  2. ภาษีเงินได้นิติบุคคล

  3. ความหมายของนิติบุคคล นิติบุคคล คือ บุคคลที่เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย

  4. นิติบุคคลเกิดโดยกฎหมายนิติบุคคลเกิดโดยกฎหมาย กฎหมายที่ให้กำเนิดนิติบุคคล • ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • กฎหมายพิเศษ

  5. นิติบุคคลตาม ป.พ.พ. • บริษัทจำกัด • ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล • มูลนิธิ • สมาคม

  6. นิติบุคคล ตามกฎหมายพิเศษ เช่น - พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการ - พ.ร.บ สหกรณ์ - พ.ร.บ. สงฆ์ - พ.ร.บ. นิติบุคคลอาคารชุด - พ.ร.บ. พรรคการเมือง - พ.ร.บ. มหาวิทยาลัย ฯลฯ

  7. บริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ ตาม ป.รัษฎากร 1. บจ./ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่จัดตั้งขึ้นตาม ก.ม.ไทย 2. บริษัท/ห้างหุ้นส่วนที่จัดตั้งขึ้นตาม ก.ม.ต่างประเทศ (ก) เข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทย (สาขา) (ข) ประกอบกิจการขนส่งผ่านประเทศไทย (ค) มิได้ประกอบกิจการในไทย แต่มีเงินได้ตาม ม.40(2) – (6) ที่จ่ายจาก หรือในประเทศไทย

  8. บริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ ตาม ป.รัษฎากร (ง) มีลูกจ้าง หรือผู้ทำการแทนหรือ ผู้ทำการติดต่อ เป็นเหตุให้ได้รับเงินได้ในประเทศไทย 3. กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางการค้าหรือหากำไร โดย - รัฐบาลต่างประเทศ - องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ - นิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตาม ก.ม.ของต่างประเทศ

  9. บริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ ตาม ป.รัษฎากร 4. กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางการค้าหรือหากำไร โดย - บริษัท + บริษัท - บริษัท + ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล + ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - บริษัท , ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล + บุคคลธรรมดา, คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล, ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือนิติบุคคลอื่น

  10. บริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ ตาม ป.รัษฎากร 5. มูลนิธิ หรือสมาคม 6. นิติบุคคลอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด

  11. ฐานภาษี 1. กำไรสุทธิ 2. รายได้ก่อนหักรายจ่าย 3. เงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย 4. การจำหน่ายกำไรออกไปนอกประเทศ

  12. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิ 1. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย 2. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของ ต่างประเทศ 2.1 ประกอบกิจการทั่วไปที่มิใช่กิจการเฉพาะขนส่ง ระหว่างประเทศ 2.2 มีลูกจ้างหรือผู้ทำการแทน หรือผู้ทำการติดต่อในประเทศไทย ซึ่งเป็นเหตุให้ได้รับเงินได้หรือผลกำไรในประเทศไทย

  13. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิ 3. กิจการที่ดำเนินการเป็นทางค้าหรือหากำไร โดยรัฐบาลต่างประเทศ องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ หรือนิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ 4. กิจการร่วมค้า

  14. รอบระยะเวลาบัญชี รอบระยะเวลาบัญชี = 12 เดือน

  15. รอบระยะเวลาบัญชีน้อยกว่า 12 เดือน รอบระยะเวลาบัญชีอาจน้อยกว่า 12 เดือน ได้ในกรณี • เริ่มประกอบกิจการ , รอบแรก • เลิกกิจการ , รอบสุดท้าย • ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนวันสุดท้ายของรอบ • เลิกกัน, ควบเข้ากัน

  16. การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี รอบระยะเวลาบัญชี • การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากประมาณ การกำไรสุทธิได้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ตาม (2)

  17. การประมาณการกำไรสุทธิการประมาณการกำไรสุทธิ • จะต้องเสียเงินเพิ่มร้อยละ 20 กรณี • ไม่ยื่นรายการและชำระภาษีจากประมาณการกำไรสุทธิ • ประมาณการกำไรสุทธิหายไปเกินร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิ

  18. การประมาณการกำไรสุทธิการประมาณการกำไรสุทธิ การคำนวณเงินเพิ่ม X อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล X 20%

  19. การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี รอบระยะเวลาบัญชี • การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกำไรสุทธิของรอบระยะเวลาหกเดือน ได้แก่ (2.1) บริษัทจดทะเบียน ตามกฎหมายว่าด้วย ตลาดหลักทรัพย์ (2.2) ธนาคารพาณิชย์ ตามกฎหมายว่าด้วย ธนาคารพาณิชย์

  20. การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี รอบระยะเวลาบัญชี (2.3) บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ หรือบริษัทเครดิต ฟองซิเอร์ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจ เงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ (2.4) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ตามหลักเกณฑ์ฯ ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 128)

  21. กำไรสุทธิ กำไรสุทธิ = รายได้จากกิจการหรือเนื่องจากกิจการ ที่กระทำในรอบ บ/ช หักด้วย รายจ่ายตามเงื่อนไข ตามกรมสรรพากรกำหนด (มาตรา 65 ทวิ , 65 ตรี)

  22. การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% ปัจจุบันมีการลดอัตราภาษีจากปกติ 30 % • กิจการวิเทศธนกิจ 10 % • บริษัทที่มีหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ก่อนวันที่ 6 ก.ย. 2544 • ร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาท (เป็นเวลา 5 รอบฯ เริ่มรอบในหรือหลัง 6 ก.ย. 44)

  23. การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% 3. บริษัทที่มีหลักทรัพย์มาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 3 ปี นับแต่วันที่ 6 ก.ย.2544 (31 ธ.ค.2548) • ตลาด SET (Stock Exchange of Thailand) 25 % (เป็นเวลา 5 รอบฯ นับแต่รอบแรกที่มี หลักทรัพย์มาจดทะเบียน)

  24. การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% • ตลาด MAI (Market of alternative Investment) 20 % (เป็นเวลา 5 รอบฯ นับแต่รอบแรกที่มี หลักทรัพย์มาจดทะเบียน)

  25. การลดอัตราภาษีจากปกติ 30% 4. SMEs ทุนชำระแล้ว ณ วันสุดท้าย ไม่เกิน 5 ล้านบาท 15% เฉพาะกำไรส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้านบาท 25% เฉพาะกำไรส่วนที่เกิน 1 ล้านบาท – 3 ล้านบาท 30% เฉพาะกำไรส่วนที่เกิน 3 ล้านบาท 5. สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค 10% 6. บริษัทฯ ที่ได้รับใบอนุญาตให้ค้าน้ำมันเชื้อเพลิง 10%

  26. กรณีไม่ต้องยื่นแบบเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกรณีไม่ต้องยื่นแบบเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ครึ่งปีรอบระยะเวลาบัญชี • บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ไม่เสียภาษี เงินได้นิติบุคคลจากกำไรสุทธิ • บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีรอบระยะเวลา บัญชีรอบแรก หรือระยะเวลาบัญชีสุดท้ายน้อยกว่าสิบสองเดือน

  27. กรณีไม่ต้องยื่นแบบเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกรณีไม่ต้องยื่นแบบเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ครึ่งปีรอบระยะเวลาบัญชี 3. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีรอบระยะเวลา บัญชีที่ขอเปลี่ยนและได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลง รอบระยะเวลาบัญชี ทำให้รอบระยะเวลาบัญชี น้อยกว่าหกเดือน หรือหกเดือนพอดี

More Related