250 likes | 395 Views
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์. By Juthawut Chantharamalee. Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science). บทที่ 6 Floppy Disk/CDROM/Blu-ray Disc . บทที่ 2. Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science). บทนำ.
E N D
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ By Juthawut Chantharamalee Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
บทที่ 6Floppy Disk/CDROM/Blu-ray Disc บทที่ 2 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
บทนำ • อุปกรณ์สำหรับอ่าน/เขียนข้อมูลเป็นอุปกรณ์สำหรับนำข้อมูลเข้าหรือออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้งานนอกเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเป็นการสำรองข้อมูลป้องกันความสูญหายของข้อมูลหรือโปรแกรมหากเกิดข้อผิดพลาดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาและนำอุปกรณ์ไปใช่ในการเก็บและบันทึกข้อมูลขึ้นมากมายเช่น ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy disk) ซีดีรอม (CD-ROM), บลูเรย์ดิสค์ (Blu-ray Disc) เป็นต้น Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
ฟล็อปปี้ดิสก์ไดรว์ • ฟล๊อปปี้ดิสก์ไดรว์ (Floppy Disk Drive) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลใช้สำหรับอ่าน/เขียนข้อมูลลงแผ่นดิสก์เก็ตต์มีขนาด 3.5 นิ้วมีความจุข้อมูล 1.44 เมกกะไบต์ เหมาะกับการอ่านเขียนข้อมูลที่มีความจุน้อย กรณีที่อุปกรณ์อื่นของเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถใช้งานได้เช่น ฮาร์ดดิสก์หรือซีดีรอมสามารถกำหนดหน้าที่ให้เป็นตัวเริ่มต้นการทำงานหรือบูตได้ ปกติฟล็อปปี้ดิสก์ไดรว์ได้ถูกติดตั้งมาพร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันในปัจจุบันหากแต่ความนิยมในการใช้อุปกรณ์นี้อ่าน/เขียนมีความนิยมลดลงสืบเนื่องจากอุปกรณ์ซีดีรอมและแผ่นซีดีรอม มีราคาถูกมีความจุข้อมูลมาก จึงเป็นที่นิยมในการบันทึกข้อมูลด้วยวิธีดังกล่าวแสดงได้ดังรูปที่ 6.1 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
รูปที่6.1แสดงฟล๊อปปี้ดิสก์ไดรว์รูปที่6.1แสดงฟล๊อปปี้ดิสก์ไดรว์ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
ชนิดของแผ่นดิสก์เกตต์ • แผ่นดิสก์เกตต์ (Diskette) หรือเรียกกันทั่วไปว่าแผ่นดิสก์แผ่นดิสก์ขนาด 5.25 นิ้วปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้วแบ่งออกเป็น 3 แบบได้แก่ 1.แผ่นดิสก์ความจุ 180 กิโลไบต์ (KB) เป็นแบบเก็บข้อมูลด้านเดียวซึ่งเรียกว่า Single Side Double Density (SSDD) 2. แผ่นดิสก์ความจุ 360 กิโลไบต์ (KB) เป็นแบบเก็บข้อมูลทั้งสองด้านซึ่งเรียกว่า Double Side Double Density (DSDD) 3. แผ่นดิสก์ความจุ 1.2 เมกกะไบต์ (MB) เป็นแบบเก็บข้อมูลทั้งสองด้านมีความหนาแน่นสูงซึ่งเรียกว่า Double Side Double Density (DSDD) แสดงได้ดังรูปที่ 6.2 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
รูปที่6.2แสดงแผ่นดิสก์ขนาด 5นิ้ว Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
ชนิดของแผ่นดิสก์เกตต์ • แผ่นดิสก์ทั้ง 3 แบบมีความบอบบางมีขนาดใหญ่ไม่สะดวกในการพกพา หรือเก็บรักษาไม่สะดวก หากบิดงอทำให้ชำรุดได้ ซึ่งในเวลาต่อมาได้มีการพัฒนาและผลิตแผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้วขึ้นซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบดังนี้ 1. แผ่นดิสก์ความจุ 720 กิโลไบต์ (KB) สามารถเก็บข้อมูลบนแผ่นได้ทั้ง 2 ด้าน มีความหนาแน่นของข้อมูลสูง 2. แผ่นดิสก์ความจุ 1.44 เมกกะไบต์ (MB) เป็นแบบเก็บข้อมูลได้ทั้ง 2 ด้าน มีความหนาแน่นของข้อมูลสูง แสดงได้ดังรูปที่ 6.3 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
รูปที่6.3แสดงแผ่นดิสก์ขนาด 3.5นิ้ว Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
การประกอบฟล๊อปปี้ดิสก์ไดรว์ • มีขั้นตอนการประกอบเครื่องดังต่อไปนี้ 1. นำฟล๊อปปี้ดิสก์ไดรว์เข้าไปไว้ในช่องสำหรับใส่ฟล๊อปปี้ดิสก์ไดรว์ และดันเข้าข้างในสุดโดยหันด้านที่เป็นขั้วไฟฟ้าออกมา 2. ขันน๊อตยึดฟล๊อปปี้ดิสก์ไดรว์เข้ากับตัวเคสให้แน่น แสดงได้ดังรูปที่ 6.4 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
รูปที่6.4แสดงการติดตั้งฟล๊อปปี้ดิสก์ไดรฟ์รูปที่6.4แสดงการติดตั้งฟล๊อปปี้ดิสก์ไดรฟ์ 3. เสียบสายไฟฟ้าและสายแพเข้ากับฟล๊อปปี้ดิสก์ 4. เสียบสายแพเข้ากับเมนบอร์ด Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
ซีดีรอม (CDROM) • ซีดีรอมไดรว์ (CD ROM Drive) ย่อมาจาก Compact Disk Read Only Memory Drive เป็นสื่อสำหรับอ่าน/เขียนข้อมูลที่มีความจุมาก มีการพัฒนาการด้านความเร็วเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้ได้รับความนิยมเป็นอันมากสำหรับประโยชน์ของซีดีรอมเป็นอุปกรณ์เพื่อความบันเทิงทำให้สามารถดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมส์และร้องเพลงคาราโอเกะ เป็นต้น Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
ซีดีรอม (CDROM) ประเภทของซีดีรอม ปัจจุบันซีดีรอมที่ใช้งานอยู่มีด้วยกัน 3 ประเภทได้แก่ 1. ซีดีรอมไดรฟ์ (CD ROM DRIVE) เป็นซีดีรอมที่สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดีได้ มีการผลิตเพื่อให้อ่านข้อมูลด้วยความเร็วต่างกันไปแล้วแต่ละเครื่องเช่น 48X, 56X เป็นต้น 2. ซีดีอาร์ไดรว์ (CD-R Drive) ย่อมาจาก CD Recordable Drive สามารถอ่านและบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีได้ การทำงานได้แบ่งความเร็วในการอ่าน และความเร็วของการเขียนไปอย่างชัดเจน ปัจจุบันซีดีรอมประเภทนี้ได้เปลี่ยนเป็นซีดีอาร์ปลิว (CDRW) Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
ซีดีรอม (CDROM) ประเภทของซีดีรอม 3. ซีดีอาร์ไดรว์ (CD-RW Drive) ย่อมาจาก CD Rewritable Drive สามารถอ่านและบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีได้ อีกทั้งยังสามารถเขียน/อ่านบนแผ่นซีดีอาร์ปลิว (CD-RW) และซีดีอาร์ปลิวนี้ยังสามารถเขียนและลบข้อมูลได้เหมือนกับฮาร์ดดิสก์ได้อีกด้วย แสดงได้ดังรูปที่ 6.5 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
รูปที่6.6แสดงส่วนประกอบของซีดีรอมรูปที่6.6แสดงส่วนประกอบของซีดีรอม ส่วนประกอบของซีดีรอมด้านหน้า ส่วนมากประกอบด้วย 1. ช่องเสียบหูฟังหรือลำโพงที่มีแอมป์ขยายกำลังในตัว 2. เป็นปุ่มปรับระดับเสียง 3. ไฟแสดงสถานะทำงาน 4. ปุ่มหยุด/นำแผ่นเข้าออกจากเครื่อง แสดงได้ดังรูปที่ 6.7 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
รูปที่6.7แสดงด้านหลังของซีดีรอมรูปที่6.7แสดงด้านหลังของซีดีรอม Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
ซีดีรอม (CDROM) จากรูปซีดีรอมด้านหลังประกอบด้วย 1. ช่องสำหรับเสียบสายไฟฟ้า 2. ช่องสำหรับต่อสาย IDE สำหรับเชื่อมต่อซีดีรอมกับเมนบอร์ด 3. จัมเปอร์กำหนดสถานะ สำหรับเสียบจัมเปอร์เพื่อกำหนดสถานะให้กับซีดีรอมเพื่อให้เป็นมาสเตอร์ (Master) หรือสลาฟ (Slave) 4. Audio Connector สำหรับเสียบสัญญาณเสียง จาก Sound Card ไปยังซีดีรอม Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
ซีดีรอม (CDROM) การติดตั้งซีดีรอม 1. กำหนดหน้าที่ให้กับซีดีรอมโดยใช้หลักการกำหนดจัมเปอร์ เช่นเดียวกับฮาร์ดดิสก์เพื่อกำหนดให้เป็น Master หรือ Slave ในการติดตั้งหากมีฮาร์ดดิสก์ตัวเดียวให้กำหนดซีดีรอมเป็น Master หรือ Slave ก็ได้โดยใช้ IDE คนละเส้น หากมีฮาร์ดดิสก์จำนวน 2 ตัวให้พ่วงซีดีรอมกับฮาร์ดดิสก์ที่มีความเร็วต่ำ 2. กำหนดจัมเปอร์เรียบร้อยแล้วให้นำซีดีรอมใส่ในช่องสำหรับใส่ซีดีรอมให้หันด้านหน้าออกมาด้านนอก ดันไปจนสุดให้ข้างหน้าพอดีกับเคส 3. ใช้ไขควงขันน๊อตเพื่อยึดซีดีรอมเข้ากับเคสให้แน่น แสดงได้ดังรูปที่ 6.8 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
รูปที่6.8แสดงการขันน๊อตเพื่อยึดซีดีรอมรูปที่6.8แสดงการขันน๊อตเพื่อยึดซีดีรอม Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
รูปที่6.9แสดงการติดตั้งอุปกรณ์ด้านหลังซีดีรอมรูปที่6.9แสดงการติดตั้งอุปกรณ์ด้านหลังซีดีรอม 4. เสียบสาย Audioสาย IDEจำนวนขาสัญญาณ 40 pin การเสียบสายจะมีปุ่มกันเสียบผิดด้านหากเสียบผิดจะไม่สามารถเสียบได้ การเสียบสายไฟ แสดงได้ดังรูปที่ 6.9 5. สายอีกด้านหนึ่งของสาย IDE ให้เสียบเข้ากับช่องเสียบบนเมนบอร์ดในช่องที่ 2 การเสียบสาย ปกติจะมีปุ่มกันเสียบผิด หากเสียบผิดจะไม่สามารถเสียบได้ 3. เสียบสายไฟฟ้าและสายแพเข้ากับฟล๊อปปี้ดิสก์ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
บลูเรย์ดิสค์ (Blue-ray Disk) บลูเรย์ดิสค์หรือ บีดี (BD) คือรูปแบบของแผ่นออพติคอลสำหรับบันทึกข้อมูลความละเอียดสูง ชื่อของบลูเรย์มาจาก ช่วงความยาวคลื่นที่ใช้ในระบบบลูเรย์ ที่ 405 nm ของเลเซอร์สี "ฟ้า" ซึ่งทำให้สามารถทำให้เก็บข้อมูลได้มากกว่าดีวีดี ที่มีขนาดแผ่นเท่ากัน โดยดีวีดีใช้เลเซอร์สีแดงความยาวคลื่น 650 nm มาตรฐาน ของบลูเรย์พัฒนาโดย กลุ่มของบริษัทที่เรียกว่า Blu-ray Disc Association ซึ่งนำโดยโซนี และ ฟิลิปส์ เปรียบเทียบกับ เอ็ชดีดีวีดี (HD-DVD) ที่มีลักษณะและการพัฒนาใกล้เคียงกัน บลูเรย์มีความจุ 25 GB ในแบบเลเยอร์เดียว (Single-Layer) และ 50 GB ในแบบสองเลเยอร์ (Double-Layer) ขณะที่ เอ็ชดีดีวีดีแบบเลเยอร์เดียว มี 15 GB และสองเลเยอร์มี 30 GB Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
บลูเรย์ดิสค์ (Blue-ray Disk) ความจุของบลูเรย์ดิสค์ มีลักษณะคล้ายกับแผ่น ซีดี/ดีวีดี โดยแผ่นบลูเรย์จะมีลักษณะแบบหน้าเดียว และสองหน้า โดยแต่ละหน้าสามารถรองรับได้มากถึง 2 เลเยอร์ อาทิ แผ่น BD-R (SL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Single Layer แบบหน้าเดียว มีความจุ 25 GB แผ่น BD-R (DL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบหน้าเดียว มีความจุ 50 GB แผ่น BD-R (2DL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบสองหน้า มีความจุ 100 GB ส่วนความเร็วในการอ่านหรือบันทึกแผ่น Blu-Ray ที่มีค่า 1x, 2x, 4x ในแต่ละ 1x จะมีความเร็ว 36 เมกะบิต ต่อ วินาที นั่นหมายความว่า 4x นั่นจะสามารถบันทึกได้เร็วถึง 144 เมกะบิต ต่อ วินาที โดยที่เทคโนโลยี คือ Blu-ray หรือ HD-DVD ในการจัดเก็บ แสดงได้ดังรูปที่ 6.10 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
รูปที่6.10แสดงขนาดความจุของบลูเรย์ดิสค์ (Blue-ray Disk) Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
บลูเรย์ดิสค์ (Blue-ray Disk) ข้อแตกต่างระหว่าง Blu-rayกับ HD-DVD 1. ภาพชัด+ระบบเสียงดีกว่ามาก แต่จะเห็นความแตกต่างชัดเจนเมื่อตอนใช้ TV แบบ LCD TV จอใหญ่ๆ หรือที่เรียกว่า HD-TV 2. แผ่น Blu-ray หรือ HD-DVD ต้องใช้เครื่องเล่นเฉพาะของแผ่น Blu-ray และต้องใช้เครื่องเล่น Blu-ray เล่น ส่วน HD-DVD ต้องใช้เครื่องเล่น HD-DVD เล่น3. ราคาเครื่องอ่านแผ่น HD-DVD กับ Blu-ray แพงกว่าเครื่อง DVD มากเครื่องเล่นราคาประมาณหมื่นกว่าบาท เครื่องอ่านไดรฟ์ Blu-ray สำหรับคอมพิวเตอร์ประมาณสามพันกว่าบาท Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
The EndUnit 6 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)