190 likes | 707 Views
ไมโครโฟน (Microphone). สัญญาณไฟฟ้า. เสียง. AMP. MIC. ไมโครโฟน.
E N D
สัญญาณไฟฟ้า เสียง AMP. MIC. ไมโครโฟน เป็นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียง (Sound wave) หรือคลื่นอากาศจากแหล่งกำเนิดเสียง เช่น เสียงพูด เสียงเพลง หรือ เสียงจากเครื่องดนตรี ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียง แล้วส่งไปตามสายไมโครโฟนเข้าสู่เครื่องขยายเสียง
Crystal/Ceramic ชนิดของไมโครโฟนจำแนกตามวัสดุที่ใช้ในไมโครโฟน • คาร์บอนไมโครโฟน (Carbon Microphone) • คริสตอลไมโครโฟน (Crystal Microphone) • เซอรามิกไมโครโฟน (Ceramic Microphone)
ริบบอน แม่เหล็กถาวร ไดอะแฟรม Moving Coil • คอนเดนเซอร์ไมโครโฟน (Condenser Microphone) • ริบบอนไมโครโฟน (Ribbon or Velocity Microphone) • ไดนามิกไมโครโฟน (Dynamic Microphone)
ชนิดของไมโครโฟนแบ่งตามลักษณะการใช้งานชนิดของไมโครโฟนแบ่งตามลักษณะการใช้งาน • แบบตั้งโต๊ะหรือตั้งกับพื้น • แบบมือถือ • แบบห้อยคอหรือหนีบปกเสื้อ • แบบมีแขนยื่นหรือแบบบูม(Boom Microphone) • แบบไร้สาย (Wireless Microphone)
Polar Pattern ชนิดของไมโครโฟนแบ่งตามทิศทางของการรับเสียง • ทิศทางเดียวมุมแคบ (Uni - Directional) • ทิศทางเดียวมุมกว้างหรือเป็นรูปหัวใจ (Cardioid or Heart Sharped Microphone) • ชนิดรับเสียงได้สองทิศทาง (Bi - directional) • ชนิดรับเสียงได้รอบทิศทาง (Omni or All Directional)
คุณสมบัติเฉพาะของไมโครโฟนคุณสมบัติเฉพาะของไมโครโฟน • ค่าอิมพีแดนซ์ (Impedance) • ค่าอิมพีแดนซ์สูง (High Impedance) 5 - 100 กิโลโอห์ม • ค่าอิมพีแดนซ์ ต่ำ(Low Impedance) 200 - 600 โอห์ม • การตอบสนองความถี่เสียง(Frequency Response) ได้ย่านกว้าง เช่น 50 - 15,000 Hz • ความไวในการรับเสียง(Sensitivity) บอกค่าเป็นเดซิเบล(dB) ค่าเดซิเบลติดลบมาก เช่น - 90 dB จะไวต่อเสียงต่ำกว่าค่าติดลบน้อย เช่น - 60 dB
วิธีใช้และดูแลรักษาไมโครโฟนวิธีใช้และดูแลรักษาไมโครโฟน • เลือกไมโครโฟนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น ทิศทางการรับเสียง การตอบสนองความถี่ หรือความไว • ระยะห่างจากไมโครโฟนถึงปากผู้พูดประมาณ 3 - 6 นิ้ว • ไม่ควรเคาะหรือเป่าที่ไมโครโฟน จะทำให้ไดอะแฟรมชำรุดใช้งานไม่ได้
อย่าวางสายไมโครโฟนใกล้กับสายไฟ AC • หันลำโพงให้พ้นไปจากไมโครโฟนหรือเปลี่ยนที่ตั้งใหม่เมื่อเกิดการ Feedback • ควรใช้Wind Screen เมื่อนำไมโครโฟนไปใช้นอกสถานที่ หรือกลางแจ้งเพื่อกันเสียงลม