420 likes | 1.19k Views
ทิศทาง มาตรฐานการรายงานทางการเงินในอนาคต. เอกสารเพิ่มเติม. จัดโดย บริษัทบัญชีกิจบริหาร จำกัด วันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2556 เวลา 9.00 – 17.00 น. โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ. ปี 2012. IFRS (2009) อย่าตกใจกับ 2012 ทำให้ข้อความชัดเจนมากขึ้น ร้อยเรียงย่อหน้าส่งลูกได้มากขึ้น
E N D
ทิศทางมาตรฐานการรายงานทางการเงินในอนาคตทิศทางมาตรฐานการรายงานทางการเงินในอนาคต เอกสารเพิ่มเติม จัดโดย บริษัทบัญชีกิจบริหาร จำกัด วันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2556 เวลา 9.00 – 17.00 น. โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ
ปี 2012 • IFRS (2009) • อย่าตกใจกับ 2012 • ทำให้ข้อความชัดเจนมากขึ้น • ร้อยเรียงย่อหน้าส่งลูกได้มากขึ้น • เอาใจตลาดทุนมากขึ้น + บริษัทมีการจัดทำข้อมูลที่ตลาดทุนต้องการด้วยหรือเปล่า หากไม่จัดทำ ก็ไม่ต้องเปิด
TFRSs for NPAEs • ทำบัญชีตามมาตรฐานฯ ชุดเล็กเป็นหลัก + มาตรฐานฯชุดใหญ่บางเรื่อง • TAS 12 (deferred tax) • TAS 19 ผลประโยชน์พนักงาน • TAS xx หากมาตรฐานฯ ชุดเล็ก ไม่มีหลักว่าด้วยเรื่องนั้นๆ เช่น เงินอุดหนุนรัฐบาล • TAS xx ซึ่งไม่มีผลต่อ dr./cr. แต่เป็นการให้ข้อมูลเพิ่มเติม ที่มาตรฐานฯ ชุดเล็กไม่กำหนดให้ทำ เช่น กำไรต่อหุ้น งบกระแสเงินสด งบรวม เปิดเผย related party transaction
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน • สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุกำหนดไม่ได้แน่นอน ตัดจำหน่าย 10 ปี • ลิขสิทธิ์ • เครื่องหมายการค้า • ค่าสมาชิก.....อายุตลอดอาชีพ
TFRSs for NPAEs • จากมาตรฐานไทยเคยใช้ ลงราชกิจจา 51 ดัดแปลงให้ง่ายขึ้น • ตัดลดหลัก FV เหลือน้อยลง • ตัดการเปิดเผยออกไปหลายๆ เรื่อง • ตัดการคำนวณใดอิงกับ PV เช่น ประมาณการหนี้สินเงินชดเชยตามกฏหมายแรงงาน
เงินชดเชยกฎหมายแรงงาน (NPAEs) • พนักงานทุกคนต้องนำมาคำนวณเงินชดเชยกฏหมายแรงงาน • สมมติว่าพนักงานทุกคน • มีชีวิตอยู่รอดและทำงานไปจนเกษียณ
เก็บสถิติย้อนหลัง • Turnover rate พนักงานในแต่ละอายุงาน • เป็นประโยชน์ในคำนวณ prob. ที่พนักงานรายนั้นๆ ทำงานจนเกษียณ • ใช้ระดับเงินเดือนปีปัจจุบัน แล้ว roll เงินเดือนไปตามข้อเท็จจริงใหม่ • คำนึงอายุงานที่ทำมา /อายุงานทั้งหมดที่เป็นได้
ตัวอย่างที่ 1 • ดร.แสน เริ่มทำงาน 1/1/56 (ปัจจุบันอายุ 36 ปี / อายุเกษียณ 60 ปี) • เงินเดือน = 240 บาท • พนักงานที่มีอายุไม่เกิน 1 ปี มี turnover rate = 90%
หลักนี้จะใช้กับ NPAEs ในปี 2559 (สินทรัพย์ หรือ รายได้ > 30 ล้าน) • สิ้นปี เงินชดเชยกฎหมายแรงงาน = 240 บาท x 10 เดือน x 10% x 1/24 = 10 บาท
ตัวอย่างที่ 2 • น.ส.อันโกะเริ่มทำงาน 1/1/56 (ปัจจุบันอายุ 58 ปี / อายุเกษียณ 60 ปี) • เงินเดือน = 240 บาท • turnover rate = 90%
สิ้นปี เงินชดเชยกฎหมายแรงงาน = 240 บาท x 3 เดือน x 10% x 1/2 = 36 บาท
TAS 19 ข้อคิด • การรับรู้ DTA ไม่ง่ายอย่างที่คิด • จะรับรู้ได้ต้องมั่นใจเกือบเต็ม 100 จะ มีกำไรในอนาคตพอที่จะนำผลต่างชนิดลดภาษีได้ไปใช้ประโยชน์ • กำไรในอนาคต เป็นเรื่องใช้ assumptions
การถือหุ้นในบริษัทร่วมการถือหุ้นในบริษัทร่วม • หากใช้วิธี equity และบริษัทร่วมมีกำไร BV > TB DTL ต้องรับรู้หรือไม่ • ไม่ต้องรับรู้หาก 1) ไม่มีแผนการที่จะขายเงินลงทุน 2) มีความสามารถที่จะถือเงินลงทุนไว้ก่อนรับปันผล 3 เดือน และหลังรับ 3 เดือน ไม่ขายเงินลงทุนทิ้ง
เงินอุดหนุน • รัฐให้ความช่วยเหลือชดเชยในช่วงภัยพิบัติใหญ่ • ค่าแรง /สร้างโรงงาน • รัฐควบคุมราคาตั้งขาย • บริษัทร่วมมือกับรัฐในการโครงการประหยัดพลังงาน
TAS 21 • ส่งผลกระทบต่อกิจการที่มีสกุลเงินในดำเนินงานไม่ใช่ THB • พลังงาน : PTTEP/ BANPU • เดินเรือ: JUTHA/RCL/TTA/PSL • โรงแรม/Petro/เดินอากาศ: น่าสงสัย
หากสกุลเงินดำเนินงานไม่ใช่ THB เครียด • บันทึกรายการเป็นระบบคู่ขนาน 2 สกุลเงิน • THB • Functional Currency
NPAEs ให้ถือว่า FC เป็น THB เสมอ • ออกงบการเงิน 3 ชุด • Original THB. (สรรพากร/กรมพัด) • Functional Currency (ดูไว้ภายใน) • นำ FC มาแปลงเป็น THB (กลต ตลท)
เครื่องมือทางการเงิน • เหมาะกับ PAEs/ NPAEs ที่มีเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง แต่ที่ผ่านมาไม่มีหลักบัญชีรองรับ • คำสั่งกรมสรรพากร ที่ ป.68/2541 การลงบัญชี forward • นำ IAS 39 มาใช้ แต่ไม่กล้าบอกตรงๆ ในหมายเหตุ
Operating segment อาจ • เป็น profit center ที่ซ่อนใน 1 บริษัท • เป็นบริษัทย่อยที่จัดตั้งขึ้นเป็น 1 หน่วยงาน แยกต่างหากจาก บ แม่ • เป็นบริษัทย่อย ที่เราไป takeover มาในตอนหลัง
หัวใจของ TFRS 8 • เปิดเผยรายงานแยกตามส่วนงานในมิติเดียวกับที่ใช้บริหารงานภายใน
TFRS 8 กระดาษ วัสดุก่อสร้าง รายได้ค่าขาย xx xx ต้นทุนขาย variable cost xx xx Variable margin xx xx หัก คชจ ขาย (var) คชจ บริหาร (var) ต้นทุน คงที่ (ไม่เอาค่าเสื่อมกับค่าตัดจำหน่าย) EBITDA xx xx
TFRS 8 กระดาษ วัดดุ ลูกหนี้การค้า xx xx สินค้า xx xx อาคาร และอุปกรณ์ xx xx เจ้าหนี้กานค้า xx xx
ปีหน้า (2557) • ตีความมาตรฐาน (ใช้กับ NPAEs ด้วย) • โปรแกรมแต้มสะสม • ประเมิน FV ของแต้มสะสม • ประเมิน prob. ที่จะเกิดการใช้สิทธิ • นำ FV ที่ประเมินได้ x probที่จะใช้สิทธิ แยกมาบันทึกเป็นรายได้รับล่วงหน้า
ณ วันสิ้นรอบ Dr. ปรับมูลค่ายอดขาย ภายใต้โปรแกรมแต้มสะสม xx Cr. รายได้รับล่วงหน้า xx
สัญญาเช่าที่ดิน พร้อม อาคาร • เดิม • แยกค่าเช่าออกเป็น 2 ส่วน (ค่าเช่าตกเดือน 10 บาท 30 ปี ) • เช่าที่ดิน 3 บาท • เช่าอาคาร 7 บาท • หากกรรมสิทธิในที่ดินไม่โอนไปยังผู้เช่าเมื่อสิ้นสัญญา สัญญาเช่าที่ดิน ถือเป็น OL แต่มาตรฐานใหม่ แม้ไม่โอนกรรมสิทธิในที่ดิน แต่ถ้าสัญญาเช่ายาวขนาดยาวมาก เช่น 99 ปี แบบนี้ถือเป็น FL
สำหรับอาคาร แม้กรรมสิทธิไม่โอน แต่ถ้าสัญญาเช่าอาคาร ไปเข้าสถานการณ์ 1/5 ข้อของ FL ก็ต้องบันทึกเป็น FL (มาตรฐานใหม่ เหมือนเดิม)
ปี 2559 เศร้าจัง • ยกเลิกแยกสัญญาเช่าเป็น OL/FL • สัญญาเช่าใด หากมีอายุเกิน 1 ปี ผู้เช่าต้องนำมารับรู้เป็น สท พร้อม หส ไม่ต่างจาก FL
ณ วันสัญญามีผล Dr. สิทธิใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ที่เช่า xx ดอกเบี้ยจ่ายรอตัด xx Cr. เจ้าหนี้ภายใต้สัญญาเช่า xx
ให้ดู Business Model: ไม่ใช่สถาบันการเงิน (KPMG) O I F ดอกเบี้ยรับ x เงินปันผลรับ x ดอกเบี้ยจ่าย x
นำอุปกรณ์ไปติดตั้งในอาคารที่เช่า มีสัญญาว่ารื้อออก • สร้างอาคารลงบนที่ดินที่เช่า มีสัญญาว่ารื้อ/บูรณะ • อาคารของตัวเองสร้างบนที่ดินของตัวเอง แต่มี กม บังคับให้บูรณะสถานที่
PAEs: 3 บาทคือ PV ของรายจ่ายรื้อNPAEs: รายจ่ายในการรื้อในปัจจุบัน Dr. อุปกรณ์ (100 + 3) 103 Cr. เงินสด 100 ประมาณการหนี้สินจากรื้อถอน 3
ความแตกต่างระหว่าง TFRS for PAEs กับ TFRS for NPAEs TFRS for PAEs TFRS for NPAEs กำหนดให้กิจการรับรู้ผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของสินค้าเป็น คชจ โดยแสดงผลขาดทุนเป็นส่วนหนึ่งของ ตท ขาย • กำหนดให้กิจการรับรู้ผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของสินค้าเป็น คชจ แต่ไม่ได้ระบุชัดเจนว่าให้แสดงผลขาดทุนเป็นส่วนหนึ่งของ ตท ขายหรือค่าใช้จ่ายบริหาร เร็วๆ นี้ มาตรฐานฯ ฟันธงว่าให้แสดงเป็นส่วนหนึ่งของ ตท ขาย
A & Q seminar@bunchikij.com