540 likes | 816 Views
ทิศทาง กศน.ยุคใหม่ปี2551 ชุดที่1 วิเคราะห์สถานการณ์และยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนงาน. โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ วันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม 2550 เวลา 9.00-12.00 น. ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร. ความคาดหวังจากการประชุมผู้บริหารของกศน. 1. วิเคราะห์สถานการณ์ และจุดยืนของกศน.
E N D
ทิศทางกศน.ยุคใหม่ปี2551ชุดที่1 วิเคราะห์สถานการณ์และยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนงาน โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ วันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม 2550 เวลา 9.00-12.00 น. ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร
ความคาดหวังจากการประชุมผู้บริหารของกศน.ความคาดหวังจากการประชุมผู้บริหารของกศน. • 1. วิเคราะห์สถานการณ์ และจุดยืนของกศน. • 2. จุดประกายให้ร่วมเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงสร้างสรรค์ • 3. เปิดประเด็นให้นำไปสู่การค้นคว้า/วิเคราะห์/พัฒนา • 4.ความรู้ใหม่เรื่องเครือข่ายและการใช้ICTเพื่อการสื่อสารและการเรียนการสอน
โจทย์ท้าทายผู้บริหารงานกศน.โจทย์ท้าทายผู้บริหารงานกศน. • 1.สังคมส่วนใหญ่มองการศึกษานอกระบบเป็นทางเลือกสุดท้ายไม่นิยมเรียน ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องของมหาวิทยาลัยลดลง • 2.สังคมมองผลผลิตของการศึกษานอกระบบยังไม่มีคุณภาพ • 3.กลุ่มเป้าหมายการศึกษานอกระบบเป็นผู้ด้อยฐานะทางเศรษฐกิจ และย้ายถิ่นสูง ไม่สามารถเข้ารับบริการ ร่วมกิจกรรมได้ต่อเนื่อง
โจทย์ท้าทายงานกศน. • 4.ความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงาน/ผู้จัดบริการ ส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ไม่เท่ากัน • 5. กระแสโลกาภิวัตน์และวัตถุนิยม ทำให้ข้อมูลไหลบ่าเข้าถึงประชาชนได้เร็วและหลากหลายทำให้ศีลธรรมเสื่อม การจัดการเรียนรู้ให้เป็นคนดีทำได้ยากขึ้น
โจทย์ท้าทายผู้บริหารงานกศน.โจทย์ท้าทายผู้บริหารงานกศน. 6. คนทั่วไปไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 7. การบริหารจัดการในระดับสำนักที่ไม่เป็นนิติบุคคลตามโครงสร้างปฏิรูประบบราชการ2546 ทำให้ฐานะหน่วยงานเป็นเพียงสำนักขนาดใหญ่ ตัดสินใจนิติกรรมไม่ได้ ไม่มีอธิบดี/เลขาธิการและรองฯช่วยจัดการ • 8. ขาดกฎหมายรองรับการบริหาร ทำให้ขาดความขัดเจนในภารกิจขอบข่ายหน้าที่และอำนาจบังคับ
โจทย์ท้าทายผู้บริหารงานกศน.โจทย์ท้าทายผู้บริหารงานกศน. 9. ยังติดยึดแนวคิดจัดการศึกษาเอง ยังไม่ส่งเสริมหน่วยอื่นเข้ามาร่วมทำ ขาดทักษะการจัดการในรูปเครือข่าย • 10. ประเด็นต้องถ่ายโอนภารกิจไปให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สร้างความกังวล • 11.บุคลากรของกศน.ยังขาดทักษะและประสบการณ์ในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องการพัฒนากำลังคนโดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรมวิสัยทัศน์ใหม่ของการศึกษายุคเทคโนโลยีใหม่
โจทย์ท้าทายผู้บริหารงานกศน.โจทย์ท้าทายผู้บริหารงานกศน. 12. ยังขาดการขับเคลื่อนอย่างใช้ยุทธศาสตร์และมีพลัง ให้การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยเป็นวาระแห่งชาติ 13.ผู้บริหารและทีมงานกศน.ต้องการการพัฒนาทักษะการบริหารและบริการลูกค้ายุคใหม่อย่างเป็นระบบต่อเนื่องและเป็นมืออาชีพ
โอกาสของกศน. จัดการศึกษาตลอดชีวิต • 1. ในอนาคตสังคมไทยจะเป็นสังคมของผู้สูงอายุ ลูกค้าสูงอายุ ต้องจัดให้ง่าย สะดวก ความรู้รอบด้าน และเน้นคุณภาพชีวิต • 2. ยังมีกลุ่มคนไทยในต่างประเทศที่ต้องการเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน อ่านออกเขียนได้เป็นภาษาไทย จะนำคนสอนไปจัดในต่างแดน หรือส่งความรู้ผ่านอินเตอร์เน็ตไปให้ • 3. กลุ่มแรงงานวัยทำงาน15ถึง59ปี ยังต้องการพัฒนาตนเองเพื่อยกระดับทักษะให้เหมาะกับงาน ขึ้นอยู่ที่วิธีจัดการความรู้ให้คนเหล่านี้เข้าถึงโดยทำงานไปเรียนไป ได้อย่างไร
ข้อเสนอแนะช่วยกศน.ฝ่าวิกฤต1. ผู้บริหารกศน. ต้องมีองค์ความรู้ขั้นต่ำ 5 ประการ • 1.ปรับนโยบายและยุทธศาสตร์ปี2551ให้ชัดเจน • 2.จัดทำฐานข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหารกศน. • 3.จัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย ให้สอดคล้องทิศทางการศึกษาในโลกยุคใหม่และอนาคต • 4. ทักษะการจัดการและการบริหารการเปลี่ยนแปลง • 5. ใช้เทคโนโลยีช่วยงานบริหารและจัดการศึกษา
จะฝ่าวิกฤตของกศน.ได้อย่างไรจะฝ่าวิกฤตของกศน.ได้อย่างไร • ต้องวางจุดยืน ให้กศน.เป็นตัวหลักเป็นเจ้าภาพแก้ปัญหาระดับชาติ • วิเคราะห์จากบทบาทภารกิจความสำเร็จของการดำเนินงาน • มองทิศทางแนวโน้มการศึกษาของโลกมาปรับแนวของไทย • วางยุทธศาสตร์ใหม่ในการขับเคลื่อน • ช่วยกันระดมสมองเพื่อร่วมกันพัฒนาอย่างเป็นระบบ • ต้องไปช่วยกันขับเคลื่อนต่อในระดับพื้นที่
ความสำเร็จของกศน. อยู่ที่ทีมกศน.
10ทักษะการจัดการยุคใหม่สำหรับผู้บริหารงานกศน. ฝ่าวิกฤต • 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ • 2. การจัดซื้อจัดจ้าง จัดหา การบริหารการเงินตามกฎระเบียบ • 3. งานบริหารบุคคลที่ครบวงจร ตั้งแต่ สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย ความดีความชอบ และการพัฒนาตลอดการทำงาน • 4.การใช้เทคโนโลยีในการบริหารและจัดการศึกษา • 5.ทักษะในการนำเสนอ ขายแนวคิด การประชุม • 6. ทักษะการบริหารในรูปคณะกรรมการ
10ทักษะการจัดการยุคใหม่10ทักษะการจัดการยุคใหม่ • 7. การเขียนรายงาน การสรุปวิเคราะห์ การเสนอโครงการขนาดใหญ่เข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี • 8.การสร้างความเข้มแข็งการของบริหารจัดการในรูปเครือข่าย • 9.การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ระบบควบคุม คุณภาพ และความเสี่ยง • 10.ทักษะการจัดการเชิงธุรกิจ เช่น การให้บริการแก่ลูกค้าการตลาด และการโฆษณาประชาสัมพันธ์
การบริการลูกค้า(Customer Service ) • 1.แนวคิดพื้นฐานการบริการ • 2.การบริการตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคต • 3.คุณลักษณะทั่วไปของธุรกิจศูนย์บริการ • 4.คุณภาพการบริการ และศูนย์บริการในสายตาของลูกค้า • 5.เข้าใจคำว่า “ลูกค้า” ให้ถูกต้อง • 6.ความต้องการของลูกค้าที่เข้ามาใช้ศูนย์บริการ
การบริการลูกค้า(Customer Service ) • 7.การจัดตั้งศูนย์บริการ • 8.วิธีการกำหนดการบริการ และศูนย์บริการที่เหมาะสม • 9.การสร้างขบวนการเพื่อก่อให้เกิดความพึงพอใจในศูนย์บริการ • 10.องค์ประกอบหลักของความพึงพอใจ • 11.การวัดความพึงพอใจของลูกค้า • 12.รากฐานประจำตัวประจำใจของผู้ให้บริการ
การสร้างแผนการตลาด • คำจำกัดความและความสำคัญของวัตถุประสงค์เชิงยอดขาย • วิธีการกำหนดวัตถุประสงค์เชิงยอดขาย • ตลาดกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ทางการตลาด • วิธีการกำหนดตลาดกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ทางการตลาด • วิเคราะห์แนวทางการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย • การวิเคราะห์และจัดทำงบประมาณทางการตลาด
การวิเคราะห์เชิงลึกสำหรับการสร้างแผนการตลาดการวิเคราะห์เชิงลึกสำหรับการสร้างแผนการตลาด • การตลาด และวิเคราะห์แผนการตลาดแบบมืออาชีพ • การตลาดที่ทรงอำนาจ • ความสำคัญและวิธีการทำBusiness Review , Industry Category Comparison, Product and Market Review, Target Market Effectors • ปัญหาและโอกาสทางการตลาด • การกำหนดแยกแยะวิเคราะห์และเขียนปัญหาและโอกาสทางการตลาด
ระบบการบริหารจัดการงานโฆษณาประชาสัมพันธ์ระบบการบริหารจัดการงานโฆษณาประชาสัมพันธ์ 1. กำหนดหลักการที่ดีในการบริหารจัดการงานประชาสัมพันธ์ 2. ขอบข่ายของงานประชาสัมพันธ์ - สร้างภาพลักษณ์ของการดำเนินงาน บรรยากาศ วัฒนธรรมองค์กรและภาพลักษณ์ด้านสังคม • การสื่อสารภายในองค์กร • การสื่อสารไปสู่สาธารณชน/ สนองตอบลูกค้า • กระบวนการตลาด/ ติดต่อสอบถาม/ บริหารข้อมูล/ เผยแพร่ • วางแผน/ กำหนดยุทธศาสตร์จัดการงานประชาสัมพันธ์
ระบบการบริหารจัดการงานประชาสัมพันธ์ระบบการบริหารจัดการงานประชาสัมพันธ์ • 3. ปัจจัยความสำเร็จของงานประชาสัมพันธ์ • 4. การกำหนดบทบาทของงานประชาสัมพันธ์เมื่อพบสถานการณ์ไม่คาดฝันและวิกฤติ • 5. การดำเนินงานสื่อสารให้ครบทั้ง 4 ระบบ (1. การสื่อสารภายในองค์กร 2. สื่อมวลชนสัมพันธ์ 3. ชุมชน/ รัฐสัมพันธ์และ 4. กิจกรรมสังคม )
คนอื่นเสนอแนะงานกศนอย่างไร:แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเสนอโดยสภาการศึกษาคนอื่นเสนอแนะงานกศนอย่างไร:แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเสนอโดยสภาการศึกษา • 1. ประชาชนทุกคนมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต • 2. ประชากรที่พลาดโอกาสการศึกษาในระบบ ผู้พิการ ด้อยโอกาส และประชากรวัยแรงงาน (อายุ 15-59 ปี) ทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่างน้อยในระดับการศึกษาภาคบังคับและได้รับการฝึกอบรมวิชาชีพตามความถนัดและความสนใจ • 3. ประชากรวัยสูงอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไปทุกคนได้รับการศึกษาตามอัธยาศัยจากการบริการของรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรการตามแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแผน10 เสนอโดยสภาการศึกษา • 1. ส่งเสริมเครือข่ายการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาและหน่วยงานของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน • 2. เพิ่มปริมาณและคุณภาพของแหล่งเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย รวมทั้งพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่แล้วให้มีคุณภาพ ศักยภาพรองรับความต้องการทางการศึกษาของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพียงพอ
มาตรการตามแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแผนพัฒนาการศึกษาระยะ10มาตรการตามแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแผนพัฒนาการศึกษาระยะ10 • 3. ให้มีมาตรการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ • 4. พัฒนาระบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ก้าวทันเทคโนโลยีสอดคล้องกับบริบท ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ • 5. เร่งให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นกลไกและเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ปรับกลยุทธ์การดำเนินงาน การศึกษานอกโรงเรียน ปี 2551 • วิสัยทัศน์ ???? • ตัวอย่าง: • กศน.เป็นองค์กรสร้างสังคมอุดมปัญญาด้วยการกระจายให้เกิดการเรียนรู้
ตัวอย่าง:พันธกิจกศน.ปี2551ตัวอย่าง:พันธกิจกศน.ปี2551 1.ฝึกให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการเรียนรู้ • 2. กระจายโอกาสในการเรียนรู้ให้มีทักษะทำงานและเพิ่มคุณภาพชีวิต • 3. สร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย • 4. ให้บริการการเรียนรู้ตามอัธยาศัยจากสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ของกศน. • 5.จัดแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุกระบบและทุกวัยเข้าถึงการศึกษาตลอดชีวิต
ตัวอย่าง:ปรับเป้าหมายปี2551ตัวอย่าง:ปรับเป้าหมายปี2551 1. ประชากรวัยแรงงานอายุ15–59 ปี จำนวน 2.31 ล้านคน 1.1 แรงงานอายุ15–39 ปี 1.19 ล้านคน จบม.6จากการศึกษานอกระบบ 1.2 แรงงานอายุ 40–59 ปี 1.12ล้านคน ได้รับการศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 100,000 คน จาก 895 อำเภอ/เขต มีความรู้และทักษะการดำรงชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่าง:ปรับเป้าหมายปี2551ตัวอย่าง:ปรับเป้าหมายปี2551 3. ภาคส่วนของสังคมจำนวน 4,497 ภาคี มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 6,400,000 คน รับบริการการเรียนรู้ตามอัธยาศัยจากสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ 5. คนไทย62ล้านคนอยากเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตัวอย่าง: ปรับกลยุทธ์ปี2551 • กลยุทธ์ที่ 1 เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย • กลยุทธ์ที่ 2 กระจายให้เกิดการเรียนรู้ • กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ของชุมชน • กลยุทธ์ที่ 4 ผนึกกำลังเข้มข้นจากภาคีเครือข่าย
การถ่ายโอนภารกิจของกศน. ความคืบหน้าล่าสุดณ22สิงหาคม2550 • 1.ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้านและห้องสมุดประชาชนตำบลถ่ายโอนไปแล้ว เป็นหน้าที่อปท.ต้องทำเอง • 2.งานวิชาชีพระยะสั้นเป็นกิจกรรมหนึ่งของการศึกษานอกระบบอยู่แล้ว อปท.จึงดำเนินการได้โดยไม่ต้องถ่ายโอน • 3. ห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารีเป็นงานตามโครงการเฉลิมพระเกียรติ จึงยกเว้นไม่ถ่ายโอน เช่นเดียวกับหอสมุดรัชมังคลาภิเษก พระราชวังไกลกังวลหัวหิน
การถ่ายโอนภารกิจของกศน.การถ่ายโอนภารกิจของกศน. • 4. ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเป็นงานส่วนหนึ่งของศูนย์กศน.จังหวัด และเป็นสถานที่พบกลุ่มของศูนย์ฯจังหวัดและอำเภอ จึงยกเว้นการถ่ายโอน • 5.ควรปรับแก้ภารกิจการศึกษานอกระบบให้อยู่ในประเภทที่5 เป็นภารกิจที่รัฐยังคงดำเนินการอยู่ แต่อปท.จะดำเนินการเองก็ได้
จัดทำสาระองค์ความรู้ขั้นพื้นฐานของงานกศน. ก.การศึกษาตลอดชีวิต • 1. ประเภทของการศึกษา:ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย • 2. ความรู้พื้นฐานของการศึกษาตลอดชีวิต : ความหมายของการศึกษาตลอดชีวิต, คุณลักษณะของการศึกษาตลอดชีวิต,แนวคิดของการศึกษาตลอดชีวิต,องค์ประกอบของการศึกษาตลอดชีวิต,ความจำเป็นและคุณค่าของการศึกษาตลอดชีวิต • 3. หลักการศึกษาตลอดชีวิต : นโยบายการจัดการศึกษาตลอดชีวิต หลักการจัดการศึกษาตลอดชีวิต,กิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต
จัดทำสาระองค์ความรู้ขั้นพื้นฐานของงานกศน. ข.แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษานอกระบบ • 1.ความหมายและคำที่เกี่ยวข้องกับการศึกษานอกระบบ ความแตกต่างจากการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบโรงเรียน • 2. แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษานอกระบบ: แบบดั้งเดิม/แนวคิดใหม่ • 3.ลักษณะสำคัญ/ ความมุ่งหมาย/ หน้าที่/ ความจำเป็นของการศึกษานอกระบบ • 4. หลักการจัด/ประเภทของกิจกรรมการศึกษานอกระบบ
จัดทำสาระองค์ความรู้และฐานข้อมูลขั้นพื้นฐานของงานกศน. ค.หน่วยงานและรูปแบบที่จัดการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย • 1.หน่วยงานของรัฐ • 2. หน่วยงานของรัฐวิสาหกิจ • 3. หน่วยงานของเอกชน • 4. แนวทางทำงานร่วมกับเครือข่าย
จัดทำสาระองค์ความรู้และฐานข้อมูลพื้นฐานของงานกศน. ง. รูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย 1. รูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบ - การศึกษานอกระบบสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานสายสามัญและด้านทักษะและอาชีพ - การศึกษานอกระบบสำหรับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
จัดทำสาระองค์ความรู้และฐานข้อมูลพื้นฐานของงานกศน. ง. รูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย 2. รูปแบบการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย • การให้บริการสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามอัธยาศัย • การจัดแหล่งเรียนรู้รูปแบบต่างๆ เช่น ห้องสมุดประชาชน/ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน พิพิธภัณฑ์ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน • การศึกษาทางไกล การศึกษาต่อเนื่อง
กฎหมายเกี่ยวข้องการจัดการศึกษาตลอดชีวิตกฎหมายเกี่ยวข้องการจัดการศึกษาตลอดชีวิต • 1. พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542และแก้ไข2545 -มาตรา 8 พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542กำหนดให้การจัดการศึกษาต้องยึดหลัก 1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิต สำหรับประชาชน - มาตรา23 เนื้อหาหลักสูตรสอดคล้องและเป็นไปตามการจัดการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ/นอกระบบ/ตามอัธยาศัย ต้องเน้นทั้งความรู้และคุณธรรม
1.พรบ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542และแก้ไข25451.พรบ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542และแก้ไข2545 • มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานเกี่ยวข้อง • มาตรา 37 วรรคสอง (2)และ(4) • จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดในรูปแบบการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย • จัดการศึกษาทางไกลให้บริการในหลายเขตพื้นที่ เพื่อเสริมการบริหารและการจัดการของเขตพื้นที่การศึกษาได้
1.พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542และแก้ไข25451.พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542และแก้ไข2545 • หมวด 9 ตั้งแต่มาตรา 63-69 • ต้องการให้มีการนำสื่อและเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยให้เกิดและเรียนรู้สำหรับประชาชน • รัฐต้องส่งเสริมการผลิตสื่อเทคโนโลยี การพัฒนาบุคคลด้านการผลิต ผู้ใช้สื่อและผู้เรียน ตลอดจนงานวิจัยและพัฒนา • ให้มีการระดมทุนจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและมีหน่วยงานกลางทำแผนและประสานงานการวิจัย พัฒนาและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
2.ร่างพ.ร.บ.การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย2.ร่างพ.ร.บ.การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย • มี4หมวด 28มาตรา • หลักการจัด:ความต้องการของผู้เรียน/ต่อเนื่องตลอดชีวิต/เสมอภาค/กระจายอำนาจให้เครือข่าย/ศักยภาพกำลังคน โดยเป้าหมายสร้างสังคมอุดมปัญญา • การส่งเสริมสนับสนุน:ให้สิทธิประโยชน์ยกย่องและสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายร่วมจัด • คุณภาพมาตรฐาน: จัดระบบประกันคุณภาพภายใน • การบริหารจัดการ: มีคณะกรรมการกศน. มีหน่วยงานกศน.ในส่วนกลางที่มีโครงสร้างคล้ายกับก.ค.ศ.ในปัจจุบัน อยู่ภายใต้สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และมีอภ.กศน. ระดับจังหวัดให้มีกศน.จังหวัด และศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
3. ร่าง พ.ร.บ.สถาบันเทคโนโลยีทางการศึกษาแห่งชาติ • จะจัดตั้งสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ มีฐานะเป็นองค์การมหาชน อยู่ในกำกับของ รมว.ศธ. • หน้าที่ดูแลเรื่องสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา รวมทั้งให้บริการการศึกษาทางไกลแก่สถานศึกษาที่อยู่ห่างไกล ขาดแคลนครู และยังเข้าไม่ถึงเทคโนโลยี • จะปรับหน่วยงานด้านเทคโนโลยีทางการศึกษาของ กศน.บางส่วนได้แก่ สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ETV) มารวมกับสำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ของสกอ.
ประเด็นการใช้ประโยชน์จากกฎหมายที่เกี่ยวข้องประเด็นการใช้ประโยชน์จากกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • 1. ทำความเข้าใจและเข้าถึงสารัตถะที่แท้จริง ต้องออกกฎกระทรวง ประกาศ ข้อบังคับ ที่เป็นส่วนเกี่ยวเนื่องด้วยหรือไม่ • 2. ได้มีการเผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างกว้างขวางหรือไม่ • 3.มีการจัดทำโครงสร้าง งบประมาณ แผนงาน โครงการและกิจกรรมให้เป็นไปตามกฎหมายหรือยัง • 4.มีการบังคับใช้กฎหมายจริงจังหรือไม่ ใครคือผู้มีอำนาจ และมีการกำกับติดตาม รายงานประเมินความก้าวหน้าหรือไม่ • 5.เมื่อผ่านไประยะหนึ่งจะมีการแก้ไขกฎหมายในจุดอ่อนหรือไม่
สรุปนโยบายงานเร่งด่วนของ กศน. ในปีงบประมาณ 2551 • (1) เร่ง พรบ. การส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใช้เป็นแม่บทในการบริหารจัดการ • (2)จัดทำแผนและยุทธศาสตร์ใหม่เชิงรุกและทันสมัย ค้นหาลูกค้า • (3) สร้างรูปแบบและกระบวนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ชัดเจนเป็นรูปธรรม
สรุปนโยบายงานเร่งด่วนของ กศน. ในปีงบประมาณ 2551 • (4) สร้างความเข้มแข็งให้ภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมจัดการศึกษาตลอดชีวิต โดย กศน. ควรจัดเองร้อยละ 60 สนับสนุนเครือข่ายจัดร้อยละ 40 ?????? • (5) การสร้างระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อให้เกิดคุณภาพของการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย • (6) เร่งประชาสัมพันธ์และให้บริการเทียบโอนผลการเรียน เทียบความรู้และประสบการณ์ และเทียบระดับการศึกษา
สรุปนโยบายงานเร่งด่วนของกศน.ในปีงบประมาณ2551สรุปนโยบายงานเร่งด่วนของกศน.ในปีงบประมาณ2551 • (7) เร่งพัฒนาแหล่งเรียนรู้เช่นพิพิธภัณฑ์ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ห้องสมุดประชาชน และจัดทำคลังข้อมูลบนโลกอินเตอร์เน็ต ที่เข้ามาเรียน e-learning ทั้งในรูปเรียนฟรี/ เรียนแบบลงทะเบียนได้หน่วยกิต/ เรียนตามอัธยาศัย • (8) เน้นพัฒนาบุคลากรของ กศน. ให้รู้จักทำการตลาดและ การบริการลูกค้า
ข้อเสนอแนะการแก้ปัญหาของกศน.จากที่ประชุมจัดโดยภาควิชาการศึกษาผู้ใหญ่ มศว. • 1. ผู้บริหาร ศนจ./ศบอ.ส่วนใหญ่ ยังขาดทักษะในการบริหารจัดการและบริหารวิชาการ ของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย • 2. ผู้บริหารและครูกศน.ต้องมีใบประกอบวิชาชีพของคุรุสภาหรือไม่ • 3. ต้องปรับเปลี่ยนครู ศรช./พนักงานราชการ ทีมของศนจ./ศบอ. ให้จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้สอดคล้องกับนโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 และทิศทางของศธ.
ข้อเสนอมศว. การแก้ปัญหาของกศน. • 4. การจัดการเรียนรู้เทียบโอนประสบการณ์ให้เป็นจริง ควรมีการวิจัยและพัฒนารวมกับสถาบันอุดมศึกษาในระบบภูมิภาคด้วย • 5.จะพัฒนาอย่างไรกับ ครู ศรช.หรือครูประจำกลุ่มที่ปฏิบัติ กศน. ซึ่งส่วนใหญ่ ไม่จบวุฒิทางด้าน คบ. โดยตรง • 6. บุคลากรของ กศน.มีน้อยเกินไป ระดับอำเภอมีข้าราชการเพียงคนเดียว มีครูศรช.เพียง ตำบลละ 1 คน ต้องปรับวิธีจัดการ ใช้ตัวช่วย
ข้อเสนอแนะมศว. แก้ปัญหาของกศน. • 7. ทำอย่างไร กศน. จะทำงานร่วมเครือข่ายในสัดส่วน 60:40 ให้เป็นรูปธรรม • 8. การสนับสนุนแหล่งเรียนรู้ในชุมชน จะส่งเสริม สนับสนุน ได้อย่างไร • 9. การทำความชัดเจนให้คนทั่วไปเข้าใจและใช้ประโยชน์จาก การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จะทำอย่างไร
ข้อเสนอแนะ 5ประเด็นจากที่ประชุมผู้บริหารกศน.ส่วนกลาง เมื่อ5ตุลาคม2550 • 1. ยอมรับว่าเรามีปัญหาในสายตาของคนทั่วไปจริงตามทุกข้อ เราต้องทำความเข้าใจทั้งคนกศน.และประชาชนทั่วไป • 2. จุดอ่อน-จุดแข็งของกศน.อยู่ที่พวกเราส่วนหนึ่ง ซึ่งปรับตัวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย • 3. เราต้องปรับจุดยืนใหม่ เปิดใจกว้าง เป้าหมายใหม่เราจะไปให้ไกล ตามที่สังคมคาดหวัง • 4. เรารู้จุดเริ่มต้นที่ทำแล้วให้เกิดQuick Win ทุกคนมีกำลังใจ เราสัญญาว่าจะช่วยกันขับเคลื่อนไปข้างหน้า • 5. เราจะแบ่งงานกันทำเป็น 11 คณะ
คณะทำงานที่ได้ตกลงกันเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2550 • 1. คณะทำงานเตรียมการรองรับพ.ร.บ. การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ( ผอ.กศน.) • 2. คณะทำงานจัดทำแผนปฏิบัติการตามแผนการศึกษาชาติระยะ10และจัดประชุมให้ทำเป็นวาระแห่งชาติ( ผชช.ชัยยศ)
คณะทำงานที่ได้ตกลงกันเมื่อวันที่5ตุลาคม 2550 • 3. คณะทำงานจัดทำสาระ หลักการ และกระบวนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย คณะทำงาน ( หศน.ดร.ศรีสว่าง) • 4. คณะทำงานสร้างความเข้มแข็งให้ภาคีเครือข่าย ( ผชช.ธวัช)
คณะทำงานที่ได้ตกลงกันเมื่อวันที่5ตุลาคม 2550 • 5.คณะจัดทำเทคโนโลยีเพื่อการบริหารและแหล่งเรียนรู้ Portal Web( ผอ.บุญส่ง) • 6. การวางระบบพัฒนาการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปตามกฎหมายใหม่ เน้นคุณภาพและการสร้างโอกาส( ผอ.ปรเมศวร์)