1 / 46

Global Trade Environment

Global Trade Environment. NTMs. TARIFFS. ในอดีต. การทำเขตการค้าเสรีมุ่งในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า ( goods ) โดยการลดภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลัก. ปัจจุบัน. เขตการค้าเสรีมักจะรวมไปถึงการเปิดเสรีด้านบริการ ( services ) และการลงทุนด้วย. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 2015 (2558).

gracie
Download Presentation

Global Trade Environment

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Global Trade Environment NTMs TARIFFS

  2. ในอดีต การทำเขตการค้าเสรีมุ่งในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า (goods) โดยการลดภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลัก ปัจจุบัน เขตการค้าเสรีมักจะรวมไปถึงการเปิดเสรีด้านบริการ(services)และการลงทุนด้วย

  3. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 2015 (2558) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) 4

  4. AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community:AEC) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ทำ FTAs กับประเทศนอกอาเซียน ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs 5

  5. ไทยกับอาเซียน ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2553 ปี 2535 • ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญ • ส่งออกรวม 195,311.6 ล้านเหรียญ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 มค.ค.2553 (2010) 6

  6. ไทยกับอาเซียน แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2535 ปี 2553 • นำเข้ารวม 182,406.54 ล้านเหรียญ • นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 มค.ค.2553 (2010) 7

  7. เปรียบเทียบ AEC (10) กับ EU (27)

  8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก AEC ตลาดขนาดใหญ่: ประชากรประมาณ 580 ล้านคน ดึงดูดการค้าและการลงทุน มีอำนาจการต่อรอง: มีแนวร่วมในการเจรจา ดึงดูดการทำ FTA ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ: ใช้ทรัพยากรร่วมกัน ต้นทุนต่ำลง หาจุดที่ได้เปรียบ CLMV มีวัตถุดิบและแรงงาน สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย มีความถนัดด้านเทคโนโลยี ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเวียดนาม เป็นฐานการผลิตที่สำคัญ

  9. India ACFTA AIFTA China AEC AJCEP AANZFTA Japan AKFTA Australia New Zealand Korea 5 FTAs ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา -- ปัจจุบัน สินค้า : ลงนาม 29 พ.ย. 47 มีผล 1 ม.ค. 48 บริการ : ลงนาม 14 ม.ค. 50 มีผล 1 ก.ค. 50 ลงทุน :ลงนาม 15 สค 52 มีผล เม.ย. 53 สินค้า: ลงนาม 13 สค. 52 มีผล 1 มค. 53 บริการ/ลงทุน :กำลังเจรจา สินค้า/บริการ/ลงทุน: ไทยลงนาม 11 เม.ย.51 สำหรับไทย มีผล2 มิย 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 ก.พ. 52 มีผล 1 มค. 53 (ไทยให้สัตยาบัน 12 มี.ค. 53) สินค้า :อาเซียนอื่นลงนาม 28 ส.ค. 49 บริการ: อาเซียนอื่นลงนาม 21 พ.ย. 50 (ไทย :บริการ ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 มิ.ย. 52 สินค้า ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 ตค 52 ลงทุน:ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิย.52 มีผล 31 ตค 52

  10. CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) (ASEAN +6) EAFTA (East Asia FTA) (ASEAN +3) Australia New Zealand China Japan AEC Korea India การขยาย FTAs ของอาเซียน – อนาคต… ASEAN10 : 590 ล้านคน( 9% ของประชากรโลก ) GDP 1,499 พันล้าน US$( 2% ของ GDP โลก) EAFTA (ASEAN +3) : ประชากร 2,068 ล้านคน( 31% ของประชากรโลก ) GDP 9,901 พันล้าน US$ (18% ของ GDP โลก) CEPEA(ASEAN +6) :ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก ) GDP 12,250 พันล้าน US$ (22% ของ GDP โลก)

  11. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ที่มา: Asian Development Bank 12

  12. NAFTA เอเชียจะกลายเป็น 1 ใน 3 เขตเศรษฐกิจสำคัญของโลก EU27 ASEAN- 10 +3 +6 GDP (USD Bn) 2010 2015 NAFTA 17,192 21,258 ASEAN +6 16,937 24,940 (ASEAN +3 14,149 20,898 ) EU 16,107 18,997 13 ที่มา : สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง

  13. โอกาส วิกฤต วิกฤต โอกาส

  14. การประหยัดภาษีศุลกากรจาก FTA ในปี 2553 ของไทย ที่มา: www.tdri.or.th

  15. ประโยชน์ทางด้านภาษีที่ผู้นำเข้าในอุตสาหกรรมอาหารและยางประโยชน์ทางด้านภาษีที่ผู้นำเข้าในอุตสาหกรรมอาหารและยาง ที่มา: www.tdri.or.th

  16. ประเทศที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตสินค้าของอาเซียนประเทศที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตสินค้าของอาเซียน

  17. สถานการณ์ผลผลิต และค่า RCA เฉลี่ย ของประเทศในกลุ่มอาเซียนจำแนกรายสินค้า

  18. ข้าว RCA ข้าว เฉลี่ย ปี พ.ศ. 2544 - 2552 ปริมาณการผลิตข้าวในกลุ่มประเทศอาเซียน (หน่วย : ตัน) 19

  19. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

  20. ถั่วเหลือง

  21. ปาล์มน้ำมัน ปริมาณการผลิตปาล์มน้ำมันในกลุ่มประเทศอาเซียน (หน่วย : ตัน) RCA ปาล์มน้ำมัน เฉลี่ย ปี พ.ศ. 2544 - 2552 22

  22. ยางพารา

  23. กุ้ง RCA กุ้ง เฉลี่ย ปี พ.ศ. 2544 - 2552 24

  24. สัปปะรดกระป๋อง

  25. ประเด็นที่ได้จากการสัมภาษณ์ประเด็นที่ได้จากการสัมภาษณ์ 26

  26. ประเด็นที่ได้จากการสัมภาษณ์ (ต่อ) 27

  27. ประเด็นที่ได้จากการสัมภาษณ์ (ต่อ) 28

  28. มาตรการรองรับผลกระทบจาก AEC

  29. โอกาสทางการค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจโอกาสทางการค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  30. ผลกระทบทางค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจผลกระทบทางค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  31. AEC: จุดเปลี่ยนประเทศไทย เน้นการค้าภายในภูมิภาคมากขึ้น รุกตลาดสินค้าที่ไทยได้เปรียบและขยายตลาดตามกรอบความร่วมมือใหม่ๆ การค้า การแข่งขันสูงขึ้น ภาคบริการเข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมากขึ้น เน้นท่องเที่ยวและบริการด้านสุขภาพ ซึ่งไทยมีจุดแข็งหลายด้าน บริการ การผลิตที่เริ่มสูญเสียความสามารถในการแข่งขันจำเป็นต้องย้ายฐานการผลิตไปต่างประเทศมากขึ้น ลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านที่มีทรัพยากร อุดมสมบูรณ์และพร้อมเปิดรับการลงทุน จากต่างชาติ FDI มีแนวโน้มผ่อนปรนข้อจำกัดในการทำงานของแรงงานต่างชาติมากขึ้น เพิ่มพูนทักษะแรงงาน โดยเฉพาะด้านภาษาและการปรับตัวให้เข้ากับมาตรฐานการทำงานที่เป็นสากล แรงงาน การเคลื่อนย้ายเงินทุน เงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ เข้าออกได้เสรีมากขึ้น ค่าเงินมีแนวโน้มผันผวน ผู้ประกอบการต้องเร่งปรับตัวในการบริหารจัดการด้านต้นทุนและลดความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน 32 ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  32. 33

  33. 34

  34. 35

  35. (ร่าง) ยุทธศาสตร์ในภาพรวม 36

  36. (ร่าง) ยุทธศาสตร์ในภาพรวม 37

  37. (ร่าง)ยุทธศาสตร์การพัฒนารายสินค้า(ร่าง)ยุทธศาสตร์การพัฒนารายสินค้า 38

  38. (ร่าง)แผนยุทธศาสตร์ข้าว(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์ข้าว 39

  39. (ร่าง)แผนยุทธศาสตร์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 40

  40. (ร่าง)แผนยุทธศาสตร์ถั่วเหลือง(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์ถั่วเหลือง 41

  41. (ร่าง)ยุทธศาสตร์ปาล์มน้ำมัน(ร่าง)ยุทธศาสตร์ปาล์มน้ำมัน 42

  42. (ร่าง)ยุทธศาสตร์ยางพารา(ร่าง)ยุทธศาสตร์ยางพารา 43

  43. (ร่าง)ยุทธศาสตร์กุ้ง 44

  44. ร่างยุทธศาสตร์สับปะรดกระป๋องร่างยุทธศาสตร์สับปะรดกระป๋อง 45

  45. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. 2554. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ฉบับประชาชน สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล. 2553. แผนยุทธศาสตร์ชาติเพื่อพัฒนาประเทศไทยก่อนเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี คศ. 2015 ศรีรัตน์ รัษฐปานะ. 2554. การเตรียมความพร้อมของไทยสู่การเป็นAEC กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ WWW.thaifta.com Call CenterTel.02 5077555 กรมการค้าต่างประเทศ WWW.dft.go.th Call Center 1385 Tel. 02 5474855 กรมส่งเสริมการส่งออก www.depthai.go.th Call Center 1169 Tel. 02 5078424 เอกสารอ้างอิง

More Related