1 / 44

การตั้งท้องและการคลอดลูก (Gestation & Parturition)

การตั้งท้องและการคลอดลูก (Gestation & Parturition). เนื้อหาที่ทำการสอน. การฝังตัวของลูก/การยอมรับของแม่ ปัจจัยที่มีผลต่อความยาวนานของการตั้งท้อง สรีรวิทยาของแม่ขณะท้อง รก & การพัฒนาของตัวอ่อน การคลอด การเปลี่ยนแปลงมดลูกหลังคลอด การกลับมาเป็นสัดหลังคลอด. กลไกการเกาะตัว.

Download Presentation

การตั้งท้องและการคลอดลูก (Gestation & Parturition)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตั้งท้องและการคลอดลูกการตั้งท้องและการคลอดลูก (Gestation & Parturition) เนื้อหาที่ทำการสอน • การฝังตัวของลูก/การยอมรับของแม่ • ปัจจัยที่มีผลต่อความยาวนานของการตั้งท้อง • สรีรวิทยาของแม่ขณะท้อง • รก & การพัฒนาของตัวอ่อน • การคลอด • การเปลี่ยนแปลงมดลูกหลังคลอด • การกลับมาเป็นสัดหลังคลอด

  2. กลไกการเกาะตัว • Zona hatching ---> Trophoblast cell ขยายตัวเข้า • เจาะ uterine epitherium โดยตัวอ่อนสร้าง protelytic • enzyme • ในสุกรเกิด Zona hatching วันที่ 7 และ endometrium • สัมผัสกับ Trophoblast วันที่ 12 การเกาะตัวสมบูรณ์ ใน • วันที่ 18-24 • ในสุกร chorion และ uterine epitherium จะทาบตลอด • แต่ในแกะ โค จะมี caruncle เป็นจุดๆเพื่อเกาะตัว

  3. กลไกการเกาะตัว (ต่อ) • ในโคจะเริ่มเกาะวันที่ 20 และใช้เวลา 2-3 วัน เกาะเสร็จ • ในม้า blastocyst จะทาบกับผนังมดลูกโดยไม่เกาะ 2 เดือน • และจะเริ่มเกาะประมาณสัปดาห์ที่ 10 และเสร็จสัปดาห์ที่ 14

  4. การฝังตัวของตัวอ่อน (implantation) • ในสัตว์ทั่วไป เป็นการทาบหรือเกาะ ส่วนคนและสัตว์ฟันแทะ เป็นลักษณะการฝังตัว • ระหว่างการเกาะตัวกับผนังมดลูกตัวอ่อนจะผลิตสารบางอย่างออกมาเพื่อป้องกันการหลั่ง/ลดการตอบสนองต่อ Prostaglandin (maternal recognition) • - สุกร ตัวอ่อนผลิต Estrogen หลังปฏิสนธิ 11-12 วัน • - ม้า ผลิต Estrogen หลังปฏิสนธิ 8-20 วัน และผลิตสาร • กลุ่ม protein ระหว่างวันที่ 12-14 • - โค ตัวอ่อนผลิต bovine trophoblast protein 1(bTP-1) • หลังปฏิสนธิ 15-21 วัน

  5. ตัวลูกอ่อนถือเป็นเนื้อเยื่อแปลกปลอม ร่างกายแม่จะต่อต้านผ่าน T-cell แต่ทำไมลูกไม่ถูกกำจัดออกจนกว่าจะถึงกำหนดคลอด? จึงมีหลายทฤษฎีพยายามจะอธิบาย • - ตัวอ่อนเป็น antigen ไม่สมบูรณ์ • - ระบบภูมิคุ้มกันของแม่ไม่ทำงานหรือทำงานลดลงระหว่างการตั้งท้อง • - มดลูกเป็นบริเวณพิเศษนอกเหนือระบบภูมิคุ้มกันปกติ มีการสร้างฉนวนทางภูมิคุ้มกันระหว่างแม่กับลูก

  6. สรีรวิทยาของแม่ขณะท้องสรีรวิทยาของแม่ขณะท้อง • 1. Vulva & Vagina • ช่วงแรกจะแห้ง ซีด แต่หลัง5-6 เดือนจะมีระบบหมุนเวียนเลือดมาเลี้ยงมากขึ้น • 2. Cervix • ปิดด้วย mucous plug / pregnancy plug • 3. มดลูก • ขยายตัวตามขนาด fetus และไม่บีบตัวจนกว่าใกล้คลอด • proliferation, growth and stretch

  7. สรีรวิทยาของแม่ขณะท้อง (ต่อ) • 4. รังไข่ • CL จะคงอยู่จน สัปดาห์ที่ 2 ก่อนคลอด (โค สุกร แพะ) ส่วนในม้า CL จะหายไปในเดือนที่ 7 • 5. Pelvic ligament & Pubic symphysis • ใกล้คลอด Estrogen & Relaxin ---> คลายตัว

  8. ฮอร์โมนในเลือด/ปัสสาวะขณะท้องฮอร์โมนในเลือด/ปัสสาวะขณะท้อง • Estrogen: • ต่างชนิดสัตว์ ต่างชนิดของ estrogen และมีระดับต่าง • กันตามระยะการตั้งท้อง • สัตว์ส่วนใหญ่จะมีการหลั่งเพิ่มขึ้นเมื่อใกล้คลอด • Pregnant mare serum gonadotropin (PMSG) • หรือ Equine chorionic gonadotropin (eCG) • ผลิตโดย Trophoblastic cell พบ 40-130 วันของท้อง • ทำหน้าที่ให้มีการคงอยู่ของ 2nd CL

  9. Progesterone

  10. รกและบทบาทหน้าที่ (placenta & role) Amniotic cavity amniochorion พัฒนามาจาก Extraembryonic membrane หรือ Fetal membrane ประกอบด้วย 1. Amnion 2. Chorion 3. Yolk sac 4. Allantois 5. Umbilical cord chorion cotyledon Allantoic cavity

  11. ชนิดของรก: แบ่งตามรูปร่าง โค แกะ ม้า Convex Concave Diffuse

  12. ชนิดของรก : แบ่งตามรูปร่าง

  13. ชนิดของรก แบ่งตามรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างเซลล์ของ placentomes

  14. ชนิดของรก แบ่งตามการสูญเสียเนื้อเยื่อของแม่ระหว่างการคลอด 1. ไม่สูญเสีย (nondeciduate): สุกร ม้า 2. สูญเสียปานกลาง (moderate): สุนัข แมว 3. สูญเสียรุนแรง(extensive) : คน ลิง

  15. หน้าที่ของรก ทำหน้าที่แทนระบบย่อยอาหาร ปอด ตับ ไต ต่อมไร้ท่อ และแยกเนื้อเยื่อแม่กับลูกออกจากกัน การแลกเปลี่ยนสารเคมีที่รก • Gas • Fluid to Fluid • O2 : Haemoglobin ของลูกมีประสิทธิภาพในการจับ • ได้ดีกว่าของแม่ • CO2 : แพร่ (diffuse) จากเลือดลูกสู่เลือดแม่ • เลือดแม่รวมตัวกับ CO2ได้ดีกว่า

  16. โค: ตั้งท้อง 26 วัน

  17. โค:ตั้งท้อง 37 วัน

  18. โค: ตั้งท้อง 37 วัน

  19. โค: ตั้งท้อง 60 วัน

  20. โค: ตั้งท้อง 78 วัน

  21. โค: ตั้งท้อง 105 วัน

  22. การแลกเปลี่ยนโภชนะและของเสียการแลกเปลี่ยนโภชนะและของเสีย • Glucose, Vitamin & Amino acid Active transport & carrier system ที่รกมีการสร้าง glycogen และเปลี่ยน glucose เป็น fructose (70-80 % ของน้ำตาลในเลือดตัวอ่อน) • Free fatty acids & glycerol :diffusion • Polypeptide ผ่านได้ช้าๆ แต่โปรตีนผ่านไม่ได้ • ในคน immunoglobulin ผ่านหาตัวลูกอ่อนได้ • วิตามินที่ละลายในไขมันผ่านได้น้อยมาก • วิตามินละลายในน้ำผ่านได้สะดวก

  23. บทบาทฮอร์โมนจากรก • ในช่วงท้ายของการตั้งท้องของม้า โค สุกร แกะ จะเปลี่ยน • P4 เป็น Estrogen มากขึ้น โดยการกระตุ้นของ Cortisol • จากตัวอ่อน • ผลิต Placental lactogen • (Chorionic somatomammotropin) • รกของม้าและแกะสามารถผลิต P4 ได้เพียงพอสำหรับอุ้มชู • การตั้งท้อง

  24. การพัฒนาของลูกในท้อง แบ่งเป็น 3 ระยะ 1. Ovum period : ปฏิสนธิจนถึงเริ่มเกาะตัว 2. Embryonic period : โค วันที่ 15-45 ของการตั้งท้อง แกะ 12-34 “” ม้า 12-60 “” 3. Fetal period : โค วันที่ > 45 ของการตั้งท้อง แกะ > 34 “” ม้า > 60 “” ** ช่วง 1/3 เดือนสุดท้ายลูกโตเร็วมาก ส่วนหัว& ขาพัฒนาดีกว่ากล้ามเนื้อ

  25. ระบบไหลเวียนเลือดของลูกในท้องระบบไหลเวียนเลือดของลูกในท้อง • เลือดไม่ผ่านตับโดยเปลี่ยนเส้นทางไปออก ductus venosus • ไม่ผ่านปอด แต่ตรงไปยัง ductus arteriosus • อัตราการเต้นของหัวใจสูงกว่าสัตว์เมื่อโตเต็มวัย • โค 120-140 ครั้ง/นาที • แกะ 170-220 ครั้ง/นาที

  26. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของลูกในท้องปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของลูกในท้อง

  27. ระยะเวลาตั้งท้อง(Gestation /Pregnancy)

  28. ปัจจัยที่มีผลต่อความยาวนานของการตั้งท้องปัจจัยที่มีผลต่อความยาวนานของการตั้งท้อง

  29. การตรวจการตั้งท้อง 1. สังเกตการไม่กลับสัด : 60 หรือ 90 วันหลังผสม 2. สังเกตการเปลี่ยนแปลงสรีระของแม่ 3. มือล้วงตรวจทางทวารหนัก 4. ใช้ Radiography 5. Ultrasonograghy: คลื่นเสียง 1-10 MHz 6. ตรวจเนื้อเยื่อผนังช่องคลอด (vagina biopsy) 7. ตรวจหาฮอร์โมน : ม้า eCG, คน hCG, โค P4 สุกร prostaglandins, สัตว์ฟาร์ม estrone sulfate 8. Laparoscopy เจาะช่องท้อง

  30. การคลอด (parturition) ลักษณะอาการเมื่อใกล้คลอด 1. การจัดตำแหน่งของลูก 2. การเปลี่ยนแปลงของเต้านม 3. กระดูกเชิงกรานขยาย อวัยวะเพศบวมน้ำ 4. โค แกะ แยกตัวออกจากฝูง/ พฤติกรรมสร้างรังในสุกร

  31. ขบวนการคลอด การกระตุ้นเริ่มจากลูกและทำให้เสร็จสมบูรณ์โดยการทำงานร่วมกันของต่อมไร้ท่อและ ระบบประสาท ทฤษฎีเบื้องต้นของขบวนการคลอด • การลดลงของฮอร์โมน P4 • การเพิ่มขึ้นของ Estrogen • การหลั่งของ Oxytocin และ PGF 2alpha • การทำงานของ hypothalamic-pituitary-adrenal axis • ของลูก • ขนาดและน้ำหนักลูก

  32. การขับลูกออก (stage of labor) แบ่งเป็น 3 ระยะ 1. การถ่างของคอมดลูก(dilation of the cervix) 2. การบีบลูกออก (expulsion of the fetus) 3. การขับรกออก (expulsion of the placenta) 1 2 3 มดลูกเข้าอู่ ม้า 1-4 0.2-0.5 1 - โค-กระบือ 2-6 0.5-1.0 6-12 35-45 แกะ 2-6 0.5-2.0 0.8-8 25-30 สุกร 2-12 2.5-3.0 1-4 25-28

  33. การปรับตัวของลูกหลังคลอดการปรับตัวของลูกหลังคลอด 1. ระบบการไหลเวียนของเลือด/การทำงานของปอด 2. การควบคุมอุณหภูมิ 3. การสร้างพลังงาน:glycogen ที่ตับและกล้ามเนื้อ 4. ระบบภูมิคุ้มกัน:passive immunity หนู กระต่าย คน ผ่านรก แต่สัตว์ฟาร์มต้องรับจาก colostrum ภายใน 36 ชม.หลังคลอด

  34. การคืนสู่สภาพปกติของแม่หลังคลอดการคืนสู่สภาพปกติของแม่หลังคลอด • 1. มดลูกเข้าอู่ (uterine involution) • กลับตำแหน่งและขนาดเดิม : การสลายตัว • ของ Caruncle, Myometrium (PGF2alpha) • บีบตัวเพื่อขับ bacteria, เมือก และเนื้อเยื่อเก่าออก • สร้าง uterine epithelium ใหม่ • สัตว์ที่มีรกแบบ diffuse placenta จะคืนสภาพเร็วกว่า แบบ cotyledonary placenta

  35. 2. การกลับมามีวงรอบการเป็นสัดหลังคลอด • โค : ภายใน 50 วันหลังคลอด ~ 95 %ของโคนม • ~ 40 %โคเนื้อ • ลูกดูดนม & รีดนมบ่อยครั้งขึ้น จะกลับสัดช้ากว่า • ม้า : ภายใน 6-13 วัน • สุกร : ระหว่างเลี้ยงลูกอาจเป็นสัดแต่ไม่มีการตกไข่ • จะเป็นสัด/ตกไข่ 3-5 วันหลังหย่านม ** การไม่เป็นสัดหลังคลอดส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการ GnRH ไม่หลั่ง/ gonadotropins หลั่งไม่มากพอ

  36. การเหนี่ยวนำการคลอด สำหรับโค • การใช้ Corticosteriod :กระตุ้นการเปลี่ยนP4 เป็น • estrogen เพิ่มขึ้น ใช้ฉีด 2-3 wk ก่อนคลอด ส่วนใหญ่จะ • คลอดภายใน 72 ชม.หลังฉีด • การใช้ Prostaglandins : กำจัด CL, คลอด2-3 วันหลังฉีด • การใช้ P4 + PG :ลดบทบาทและทำลาย CL

  37. การเหนี่ยวนำการคลอด (ต่อ) สำหรับสุกร • การใช้ Glucocorticoiod :กระตุ้นให้ผลิต PGF2alpha ใช้ • ฉีดเมื่อต้งท้อง>100 วัน ส่วนใหญ่จะเกิดรกค้าง ลูกตายมาก • การใช้ Oxytocin :ฉีด 2-3 ชม.ก่อนคลอดและมักฉีดหลัง PG • การใช้ PGF2alphaและ analogues (cloprosrenol): 2-3 • วันก่อนคลอด • การใช้ PG + Xylazine (rompun, alpha-2-adrenergic • agonist) • การใช้ estradiol+ PG

More Related