210 likes | 461 Views
International Trade: Policy choices for Thailand . Renewal Strategy in Response to Globalization. Trade and Investment Policy. Agriculture. Market Access. Industry. Capability Building. Trade & Investment Strategy. Trade Facilitation. Services & Tourism. Global Dynamics. Trade
E N D
Renewal Strategy in Response to Globalization Trade and Investment Policy Agriculture Market Access Industry Capability Building Trade & Investment Strategy Trade Facilitation Services & Tourism Global Dynamics Trade Measures Enabling Infrastructure
Trade and Investment Policy Policy Direction One World One Trading System 1st Best WTO China USA India Extending ASEAN Asean AFTA/AEC 2nd Best Japan Korea EU Aus/NZ Think ASEAN First China USA 3rd Best Thailand FTA India Australia Japan NZ 2020 Year X
ความสัมพันธ์ระหว่าง WTO, FTA และ ASEAN
การไม่เลือกปฏิบัติ • MFN • National Treatment ความโปร่งใส, การปฏิบัติตาม กฏของประเทศสมาชิก การเปิดตลาด ให้เสรียิ่งขึ้น กฏเกณฑ์ของ WTO ส่งเสริมการพัฒนา การปฏิรูปทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมให้การแข่งขัน อย่างยุติธรรม
Doha Development Agenda(2544-ปัจจุบัน) ล่าสุดสมาชิกกำลังเจรจาโดยเน้น 2 เรื่องสำคัญคือ Agriculture และ NAMA คือ สูตรการลดภาษีสินค้าเกษตร/อุตสาหกรรม สูตรการลดการอุดหนุนภายในสินค้าเกษตร และการลดการอุดหนุนการส่งออกสินค้าเกษตร
ประโยชน์ที่ไทยได้รับจาก WTO • มีตลาดส่งออกมากขึ้นในราคาที่สูงขึ้นแต่อัตราภาษีลดลง นำรายได้เข้าประเทศมากขึ้นในสินค้าสำคัญ เช่นข้าวและไก่แช่แข็ง • มีกฏเกณฑ์ที่เป็นธรรมและมีประสิทธิภาพ ที่ผ่านมาไทยถูกกีดกันทางการค้าและใช้ประโยชน์จากกลไกระงับข้อพิพาทฟ้องร้องและชนะคดี เช่น • -อียิปต์ & ทูน่ากระป๋องไทย - สหรัฐฯ & กุ้งไทย • -สหภาพฯ & การอุดหนุนน้ำตาล - การกำหนดราคาอ้างอิงนำเข้าข้าว -สหภาพฯ & ไก่หมักเกลือ ของสหภาพฯ • ไทยกำลังจะฟ้องสหรัฐเรื่อง continuous bond
WHY ASEAN as a priority? • ไทยกับอาเซียนมีความใกล้ชิดทางภูมิศาสตร์ และมีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมใกล้เคียงกัน • อาเซียนสามารถเป็นแหล่งวัตถุดิบ แรงงาน และตลาดส่งออกให้กับ ไทยได้ • การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดมากขึ้นของอาเซียนจะช่วยสร้างอำนาจต่อรองของไทยในเวทีโลก
สถานะการค้าของไทยกับอาเซียนสถานะการค้าของไทยกับอาเซียน • มีแนวโน้มขยายตัวมาโดยตลอดในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา อัตราการขยายตัวเฉลี่ย 25% ต่อปี • ปี 2548 มีมูลค่าการค้า 45,770 ล้าน $ (ส่งออก 24,137 ล้าน $ และนำเข้า 21,634 ล้าน $) โดยไทยได้ดุลการค้า 2,500 ล้าน $ • สินค้าส่งออกสำคัญ: เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบรถยนตร์ น้ำมันสำเร็จรูป เคมีภัณฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า เม็ดพลาสติก เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ และยางพารา • สินค้านำเข้าสำคัญ: น้ำมันดิบ เครื่องคอมพิวเตอร์ เคมีภัณฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ก๊าซธรรมชาติ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ สินแร่โลหะ น้ำมันสำเร็จรูป ไม้ซุง ไม้แปรรูปและผลิตภัณฑ์
About…AFTA • เป็นความตกลง FTA ฉบับแรกของไทย • อาเซียนมีสมาชิก 10 ประเทศ ประกอบด้วย - บรูไน มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย เป็นสมาชิกเดิม - กัมพูชา พม่า เวียดนาม ลาว (CLMV) เป็นสมาชิกใหม่ • วัตถุประสงค์ : ลดอุปสรรค ขยายโอกาสทางการค้า ส่งเสริมการลงทุนสร้างศักยภาพในการแข่งขันและการผลิต และเพิ่มอำนาจการต่อรองในเวทีระหว่างประเทศ
กรอบการลดภาษีของ AFTA นอกจากนี้ให้ลด non tariff barriers ภายใน 5 ปีหลังจากลดภาษีแล้ว
กรอบการดำเนินการด้านบริการและการลงทุนกรอบการดำเนินการด้านบริการและการลงทุน • ด้านบริการ (AFAS)- เปิดตลาดการค้าบริการโดยทยอยเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นต่างชาติ และลดอุปสรรคข้อจำกัดอื่นๆในการประกอบกิจการ ภายในปี ค.ศ. 2015 สำหรับทุกสาขาบริการ (โดยยกเว้นสาขาที่อ่อนไหวได้) • ด้านการลงทุน (AIA) – เปิดให้มีการลงทุนเสรี และให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติต่อนักลงทุนสัญชาติอาเซียน โดยมีกำหนดเวลาและขอบข่าย ดังนี้ - 1/01/2010 สำหรับสมาชิกเดิม+กัมพูชา - 1/01/2013 สำหรับเวียดนาม และ1/01/2015 สำหรับลาว และพม่า - ครอบคลุมสาขาการผลิต เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และบริการที่เกี่ยวข้องกับ 5 สาขาดังกล่าว)
AEC: Next step for ASEAN ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น • วัตถุประสงค์: เพื่อสร้างอาเซียนให้เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (Single market and production base) โดยมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น • กำหนดเวลา: จัดตั้ง AEC ภายในปี 2020 • แนวทางดำเนินการ: sector-based approach โดยคัดเลือก 12 สาขาสำคัญ (priority sectors) เป็นสาขานำร่องไปสู่ AEC คือ เกษตร ประมง ผลิตภัณฑ์ไม้ ผลิตภัณฑ์ยาง สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ยานยนต์ อิเล็คทรอนิคส์ สุขภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ ท่องเที่ยว การบินและโลจิสติกส์
แนวโน้มการทำเขตการค้าเสรีแนวโน้มการทำเขตการค้าเสรี Number of RTAs โลกมีแนวโน้มทำเขตการค้าเสรีมากขึ้น 70% เป็น bilateral FTAs Number of RTAs Source: WTO Secretariat Source: WTO
-เป็นกฎ กติกา การค้าสินค้าและบริการ รวมถึงการลงทุน และความร่วมมือระหว่าง 2 ประเทศ -อนุญาตให้มีการเข้าสู่ตลาด (เปิดตลาด)ได้ > WTO FTA คืออะไร ? • ปลกล็อกอุปสรรคทางภาษี/ไม่ใช่ภาษี การอำนวยความสะดวกด้านการค้า การลงทุน • ซื้อขายสินค้าและบริการที่มีความโดดเด่นและมีความได้เปรียบในการแข่งขัน (comparative advantage) ของแต่ละประเทศมากขึ้น
ทำไมไทยต้องทำ FTA ? • เสริมสร้างการจัดระเบียบ/จัดสรรทรัพยากรของประเทศ/โลกให้มีประสิทธิภาพ • การเจรจาภายใต้ WTO & RTA (AFTA) ค่อนข้างช้าเนื่องจากระดับความพร้อมต่างกัน ฉันทามติบรรลุผลได้ยาก • สหรัฐฯ ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป เร่งขับเคลื่อนทำ FTA กับหลายประเทศ • คู่ค้า/คู่แข่งสำคัญของไทยได้ทำและกำลังเดินหน้าทำ FTA ระหว่างกัน หากไทยดำเนินการล่าช้าในการทำ FTA มุ่งเน้นที่วิธีการ/กระบวนการจัดทำ FTA ให้ก่อประโยชน์ จัดการความเสี่ยง/ผลกระทบให้ ต่ำที่สุด กระทบ ตลาดส่งออกของไทยไม่ขยายตัว/หดตัว โครงสร้างเศรษฐกิจภายในประเทศปรับตัวไม่ทัน ต่อการเปลี่ยนไปของโลก
7 (ประเทศ)+2 (กลุ่มการค้า) FTAs China USA India Japan BIMST-EC Peru Australia New Zealand EFTA • Total trade with Thailand43.8% • Include AFTA 62.5%
ใครได้-เสียจาก FTA ? ผู้บริโภค ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ มีสินค้า/บริการ คุณภาพ ผู้ที่แข่งได้ ขยายตลาด ผู้ที่แข่งไม่ได้ ปรับตัวและมีมาตรการ รองรับตามสมควร ราคาสินค้า/บริการ
Renewal Strategy in Response to Globalization Trade and Investment Policy Agriculture Market Access Industry Capability Building Trade & Investment Strategy Trade Facilitation Services & Tourism Global Dynamics Trade Measures Enabling Infrastructure