220 likes | 509 Views
ยุทธศาสตร์ การค้าระหว่างประเทศของไทย ( Roadmap for Thailand International Trade). เป้าหมาย. ดุลการค้าสมดุล ในระยะยาว. มูลค่าส่งออกกว่า 100 ,000 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ในปี 2549. ล้านเหรียญสหรัฐฯ. ล้านเหรียญสหรัฐฯ. ประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ทางการค้าระหว่างประเทศของไทย. 1 ความเป็นสากล ของ
E N D
ยุทธศาสตร์การค้าระหว่างประเทศของไทย(Roadmap for Thailand International Trade)
เป้าหมาย ดุลการค้าสมดุล ในระยะยาว มูลค่าส่งออกกว่า 100,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2549 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ทางการค้าระหว่างประเทศของไทยประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ทางการค้าระหว่างประเทศของไทย 1 ความเป็นสากล ของ ผู้ประกอบการ 6 เจรจาแก้ไข ปัญหาทางการค้า 2 การเชื่อมโยง ส่งออก-นำเข้า ยุทธศาสตร์การค้า ระหว่างประเทศ 5 การยกขีด ความสามารถ ในการแข่งขัน 3 การเจาะลึกและ กระจายตลาด 4 สร้างความแตกต่าง และหลากหลาย ของสินค้า/บริการ
ห่วงโซ่มูลค่าเพิ่มของสินค้าส่งออกของไทย (Value Chain) 1 : 4 ในประเทศ (Inbound) ต่างประเทศ (Outbound) ผู้นำเข้า การขนส่งและ การประกันภัย ผู้ผลิต (ราคาหน้าโรงงาน) ผู้ค้าส่ง/ปลีก ผู้ประกอบการไทย ผู้บริโภคในต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์การยกระดับความเป็นสากลของผู้ประกอบการยุทธศาสตร์การยกระดับความเป็นสากลของผู้ประกอบการ เป้าหมาย กลยุทธ์ นักธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ (Intertrader) ขยายเครือข่ายนักธุรกิจ ศูนย์กระจายสินค้าไทย เพิ่มเป็น 5,000 รายภายในปี 2549 เพิ่มการลงทุนในประเทศ เพื่อนบ้าน (CLMV) การลงทุนในต่างประเทศ สิ่งทอ วัตถุดิบ ธุรกิจบริการ ส่งเสริมการส่งออกสินค้าไทยผ่านเครือข่ายร้านอาหารไทยในต่างประเทศ(OTOP) เพิ่มจำนวนในต่างประเทศจาก6,500 ร้านเป็น 10,000 ร้าน ครัวไทยสู่โลก เพิ่มรายได้เป็น 137,600 ล้านบาท ภายในปี 2549 ส่งเสริมธุรกิจบริการ ธุรกิจบริการ สร้างธุรกิจขนส่งครบวงจร เพิ่มการขนส่งทางเรือ/อากาศ ธุรกิจขนส่ง
ระดับการพึ่งพาการใช้วัตถุดิบจากต่างประเทศของสินค้าส่งออกระดับการพึ่งพาการใช้วัตถุดิบจากต่างประเทศของสินค้าส่งออก (Import Contents) ร้อยละ
ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงระหว่างการส่งออกและนำเข้ายุทธศาสตร์การเชื่อมโยงระหว่างการส่งออกและนำเข้า เป้าหมาย เพิ่มความสามารถในการผลิตและเพิ่มการใช้วัตถุดิบในประเทศเพื่อลดการพึ่งพาการนำเข้า กลยุทธ์ สินค้านำเข้าที่มีมูลค่าเพิ่มต่ำ เช่น ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ สินค้านำเข้าที่มีมูลค่าเพิ่มสูง แต่มีปัญหาการนำเข้า เช่น พลอยร่วง เคมีภัณฑ์ สนับสนุนการเพิ่ม การใช้วัตถุดิบในประเทศ สนับสนุนการลงทุน อุตสาหกรรมที่ใช้วัตถุดิบในประเทศสูง สนับสนุนให้การนำเข้า/ ส่งออกคล่องตัว (Global Sourcing) หาแหล่งวัตถุดิบ ที่เหมาะสม ลดขั้นตอนการนำเข้า ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา พัฒนาเทคโนโลยี บริหารจัดการการนำเข้า
ยุทธศาสตร์การเจาะลึกและกระจายตลาด ปี 2547 ตลาดใหม่ 39% พันล้าน US$ %เพิ่ม/ลด ตลาดเดิม (การเจาะลึก) 54.1 8.7(Deepening ) สหรัฐฯ 14.2 5.0 อาเซียน 15.0 11.6 สหภาพยุโรป 12.7 10.0 ญี่ปุ่น 12.2 8.0 พันล้าน US$ % เพิ่ม/ลด ตลาดใหม่ (การกระจายตลาด) 35.3 20.4 (Broadening) จีน 7.8 38.0 อินเดีย 1.0 55.0 อินโดจีนและพม่า 3.2 15.0 ตะวันออกกลาง 3.2 15.0 แอฟริกา 1.7 10.0 ลาตินอเมริกา 1.4 20.0 ฮ่องกง 4.6 10.0 ไต้หวัน 2.7 10.0 เกาหลีใต้ 1.8 15.0 ออสเตรเลีย 3.1 25.0 แคนาดา 1.0 10.0 ตลาดเดิม 61%
กลยุทธ์ การเจรจาการค้า • ตลาดเดิม • สหรัฐฯ* • สหภาพยุโรป • ญี่ปุ่น* • อาเซียน(5) • สินค้ามูลค่าเพิ่ม • Niche Market • ร่วมทุน • สร้างเครือข่าย • เจาะตลาดเชิงรุก • Special Task Force (0:100) • วิจัยความต้องการตลาด • สร้างเครือข่ายธุรกิจ • ตลาดใหม่ • ตะวันออกกลาง • (บาห์เรน*,….) • แอฟริกา • ลาตินอเมริกา • (เปรู*,……) • ยุโรปตะวันออก • เอเชียใต้ • (อินเดีย*,…..) • จีน* • อินโดจีนและพม่า • ส่งเสริมการใช้ • ตราสินค้าไทย • (Brand Image) • แสวงหาแหล่ง • วัตถุดิบ • ร่วมทุน • ส่งเสริมการใช้ • ตราสินค้าไทย • (Brand Image) • กิจกรรมการตลาด • งานแสดงสินค้า (40:60) • กิจกรรมส่งเสริมการขาย • ร่วมกับธุรกิจต่างชาติ • (Joint Promotion-20:16) • ไทยแลนด์ เอ็กซิบิชั่น (2:21) • Road Show • ตลาดรอง • ฮ่องกง • ไต้หวัน • เกาหลีใต้ • ออสเตรเลีย* • แคนาดา • ตราสินค้า • แสวงหาแหล่ง • วัตถุดิบ สร้างภาพลักษณ์และ ประชาสัมพันธ์ หมายเหตุ * ตลาดที่มีการเจรจาจัดทำ FTA
จีน 1. ภาคตะวันออก - เซี่ยงไฮ้ /เจียงซู/เจ้อเจียง - ปักกิ่ง/เทียนจิน/ซานตง - เหลียวหนิง/จี้หลิน/เฮยหลงเจียง - กวางตุ้ง /ฟูเจี้ยน 2. ภาคตะวันตก - ยูนนาน/เสฉวน/เฉินตู/ฉงชิ่ง กลยุทธ์ 1. สร้างภาพลักษณ์ 2. ไทยแลนด์ เอ็กซิบิชั่น 3. ศูนย์กระจายสินค้า 4. กองทัพนักธุรกิจการค้าระหว่าง ประเทศ (Intertrader) 5. การร่วมทุน(มันสำปะหลัง) 6. Local to Local Trade เช่น เชียงราย-ยูนนาน สินค้าเป้าหมาย ข้าว ผักผลไม้ มันสำปะหลัง ยางพารา อาหารทะเล แฟชั่น ของใช้และของ ตกแต่งบ้าน อะไหล่ยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจความงาม ร้านอาหารไทย การศึกษา 1 2 38% เป้าหมายการขยายตัวการส่งออก 2547
อินเดีย 1. ภาคเหนือ 1. นิวเดลี (New Delhi) 2. ฟาร์เรดาบัด(Faredabad) 2. ภาคใต้ 3. อาห์มาดาบัด(Ahmadabad ) 4. มุมไบ(Mumbai) 5. ไฮเดอร์ราบัด(Hyderabad ) 6. บังกาลอร์(Bangalore) 7. เชนไน(Chennai) กลยุทธ์ 1. การส่งเสริมภาพลักษณ์สินค้าไทย 2. ไทยแลนด์เอ็กซิบิชั่น 3. ศูนย์กระจายสินค้า 4. กองทัพนักธุรกิจการค้าระหว่าง ประเทศ(Intertrader) 2 1 3 4 5 7 6
Far East link with Far West Asia เอเชียตะวันตก ไทย
ยุทธศาสตร์การสร้างความแตกต่างและหลากหลายของสินค้ายุทธศาสตร์การสร้างความแตกต่างและหลากหลายของสินค้า สินค้าอาหารและ เกษตรแปรรูป • Quick Responses • ผลิตตามความต้องการของตลาด (Customization) • สร้างภาพลักษณ์ (Country Image/ Branding) • พัฒนาผลิตภัณฑ์ มาตรฐาน ออกแบบ บรรจุภัณฑ์ • บริการหลังการขาย สินค้า อุตสาหกรรม ธุรกิจบริการ การสร้าง มูลค่าเพิ่ม สร้างตรา สัญลักษณ์ ภาพลักษณ์ ประเทศไทย และตราสินค้าไทย สินค้าและ บริการใหม่
กลุ่มสินค้าเกษตรกรรม ประเด็นท้าทาย มูลค่าส่งออกสินค้าเกษตรและอาหาร 1 ล้านล้านบาท ในปี 2549 (25,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) พืช/ผลิตภัณฑ์ 570,000 ล้านบาท อื่น ๆ 77,000 ล้านบาท ประมง/ผลิตภัณฑ์ 200,000 ล้านบาท ปศุสัตว์/ผลิตภัณฑ์ 76,000 ล้านบาท ไม้/ผลิตภัณฑ์ 77,000 ล้านบาท
สร้างระบบชลประทาน • ใช้พันธุ์ดี/ดินเหมาะสม เพิ่มขีดความสามารถ ในการผลิตเพื่อส่งออก • สนันสนุนการวิจัยและพัฒนา • การแปรรูปอาหารและผลิตภัณฑ์ • พัฒนาการผลิต/สูตรอาหาร/ • ครัวไทยสู่โลก กลยุทธ์ เสาะหาเทคโนโลยี การแปรรูป อาหารปลอดภัย เพิ่มมูลค่า • พัฒนาระบบการตรวจสอบ • คุณภาพสินค้า • จัดระบบบริหารจัดการจาก • แหล่งผลิตถึงโรงงานแปรรูป • ส่งเสริม Organic Farming • จัดทำมาตรฐานสินค้า/บรรจุภัณฑ์ สนับสนุนการผลิตสินค้า เกษตรที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจบริการ • สมุนไพร/อาหารเพื่อสุขภาพ • สวนเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว
ประเด็นท้าทายของกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมประเด็นท้าทายของกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม • ความหลากหลายของลูกค้า • การปกป้องรูปแบบใหม่ • การค้าระหว่างประเทศเสรีมากขึ้น • เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว • คู่แข่งใหม่และการแข่งขันรูปแบบใหม่ • ความได้เปรียบในการแข่งขันรูปแบบใหม่ กลยุทธ์ เดิม ใหม่ Mass Production Mass Customization • Resource-based • Standardized • Less Creativity • Knowledge-based • Differentiate • High Creativity
วิธีการ • การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต • การพัฒนาระบบเชื่อมโยง • การปรับปรุงระบบภาษี • การพัฒนาคุณภาพสินค้าและ ประสิทธิภาพการผลิตการผลิต • สร้างผู้ชำนาญการเฉพาะสาขา • การจัดการคุณภาพและสิ่งแวดล้อม • การวิจัยและพัฒนา Common Strategies Global Niche • Detroit of Asia (เป้าหมาย Export Growth 10%/ปี) • Capital of Tropical Fashion (Export Growth 9% /ปี) • Kitchen of the World (Export Growth 20%/ปี) เสื้อผ้าสำเร็จรูป ประเด็นท้าทาย กลยุทธ์ วิธีการ • เป็นผู้รับจ้างผลิต (OEM) • การแข่งขันสูง/มีการกีดกัน/ระบบโควต้า • ต้นทุนของไทยสูงขึ้น • ปรับตัวเป็นผู้ออกแบบสินค้า (OBM) • มีตรายี่ห้อของตนเอง • ยกระดับสินค้าจาก Low End เป็น High End เพื่อเพิ่ม Value Added • สร้างคน พัฒนาบุคลากรด้านแฟชั่น พัฒนานักออกแบบ • สร้างธุรกิจ ทำให้กรุงเทพฯเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านแฟชั่น และสร้างศูนย์เจรจาธุรกิจ/ซื้อขายสินค้าแฟชั่น • สร้างเมือง สร้างภาพลักษณ์ให้กรุงเทพฯเป็นเมืองแฟชั่น โครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น สร้างประเทศไทยเป็นศูนย์กลางธุรกิจแฟชั่นในภูมิภาคในปี 2548 และเป็นศูนย์กลางแฟชั่นแห่งหนึ่งของโลกในปี 2555
ความแตกต่างและหลากหลายของธุรกิจบริการความแตกต่างและหลากหลายของธุรกิจบริการ ประเด็นท้าทาย กลยุทธ์ วิธีการ • ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง • ธุรกิจบริการของเอเชีย • รายได้จากธุรกิจบริการในปี • 2549 มูลค่า 137,600 ล้านบาท • - ร้านอาหารไทยในต่างประเทศ • 50,000 ล้านบาท • - โรงพยาบาลเอกชน • 27,159 ล้านบาท • - การศึกษานานาชาติ • 13,900 ล้านบาท • - สปา/เสริมความงาม/ • นวดแผนไทย 5,300 ล้านบาท • สร้างจุดเด่นและความแตก • ต่างให้ธุรกิจบริการไทย • สร้างความเป็นเลิศในด้าน • คุณภาพและการให้บริการ • นำภูมิปัญญาและสมุนไพร • ไทยมาประยุกต์ • ส่งเสริมธุรกิจบริการควบคู่ • ไปกับสินค้าส่งออกของ • ไทย • สร้างภาพลักษณ์ธุรกิจบริการ • ไทยให้เป็นที่ยอมรับของสากล • ประสานความร่วมมือหน่วย • งานเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนา • ธุรกิจบริการ • พัฒนาฐานข้อมูลตลาดต่าง • ประเทศธุรกิจบริการไทย • พัฒนาและเพิ่มศักยภาพของ • ผู้ประกอบการและผู้ให้บริการ • จัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาด • ต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์การยกขีดความสามารถในการส่งออกยุทธศาสตร์การยกขีดความสามารถในการส่งออก การอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation) การพัฒนาด้าน โลจิสติกส์ ปรับปรุง ระบบภาษี • โครงสร้างภาษีนำเข้า • ภาษีมูลค่าเพิ่ม • การขนส่ง • การธนาคาร • พิธีการศุลกากร พาณิชย์ อิเล็คทรอนิคส์ การยกขีด ความสามารถ ในการส่งออก ศูนย์บริการส่งออก แบบเบ็ดเสร็จ ข้อมูลการตลาดเชิงลึก (Market Intelligence) • ออกหนังสือรับรองฯ • ออกหนังสือรับรองฯ • ทาง Internet ห่วงโซ่อุปทานและมูลค่าเพิ่ม (Supply Chain Value Chain) • ผู้บริโภค • คู่แข่ง • VMI • IMC
ยุทธศาสตร์การเจรจาแก้ไขปัญหาการค้ายุทธศาสตร์การเจรจาแก้ไขปัญหาการค้า มาตรการด้านสุขอนามัย SPS การตอบโต้การทุ่มตลาด AD การต่อต้านการอุดหนุน CVD แหล่งกำเนิดสินค้า RO • มาตรการปกป้อง (Safeguard) • มาตรฐานสินค้า (TBT) • มาตรการสิ่งแวดล้อม • การจัดซื้อโดยรัฐ ฯลฯ Others
การแก้ปัญหาการค้า พหุภาคี ภูมิภาค ทวิภาคี APEC TF, Food MRA • กฎระเบียบ • เวทีหารือและระงับข้อพิพาท • FTA • เปิดตลาด • ปรับกฎระเบียบ • Specific Issues • ADเหล็ก, กุ้ง • SPS ข้าว เม็กซิโก • etc. ASEM TF ASEAN Standard หารือ