140 likes | 363 Views
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT. ส ถานภาพ.
E N D
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการIMT - GT ในภาพรวมและ Best Practice IMT – GTPlaza แห่งแรกโดยนายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT สถานภาพ 2) ภารกิจ 6 สาขา (Working Group) - การค้าการลงทุน - โครงสร้างพื้นฐาน/การขนส่ง - เกษตร,อุตสาหกรรมการเกษตร,สิ่งแวดล้อม- การท่องเที่ยว - ทรัพยากรมนุษย์ - ผลิตภัณฑ์และบริการฮาลาล 1) ขอบเขต - ไทย 14 จังหวัด - มาเลเซีย 8 รัฐ - อินโดนีเซีย 10 จังหวัด 3) ความร่วมมือ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - ประชาชน
บริบทการพัฒนา - ภารกิจ IMT – GT - ยุทธศาสตร์ กพต. (คณะกรรมการเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จชต.) - แผนพัฒนา จชต. (สศช) - ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ปัญหา - ผลประโยชน์ - การประสานงาน - ความร่วมมือ + เอกชนที่ไม่ต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ 5 จชต. กพต. (คณะกรรมการเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จชต.) กำหนดไว้ ดังนี้ - ให้ 3 จชต. (ยะลา,ปัตตานี,นราธิวาส) เป็นพื้นที่พื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม - ให้ จ.สตูล เป็นพื้นที่กันชนและเฝ้าระวังการลุกลามของความไม่สงบ - ให้ จ.สงขลา เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับนานาชาติและขยายผลการพัฒนาสู่พื้นที่ จชต.
ยุทธศาสตร์การพัฒนา 5 จชต. ของคณะกรรมการรัฐมนตรี 5 จชต. พ.ศ. 2552 1) ให้ จ.สงขลา เป็นศูนย์กลางยางพาราของประเทศ ศูนย์กลางการศึกษานานาชาติ การท่องเที่ยวและกีฬาสากล ประตูเศรษฐกิจสงขลา – ปีนัง – เมดาน 2) ให้ จ.ปัตตานี เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมฮาลาล ศูนย์กลางศึกษาอิสลามนานาชาติ 3) ให้ จ.นราธิวาส เป็นศูนย์กลางการขนส่งและโลจิสติกส์ เชื่อมโยง NCFRของมาเลเซีย 4) ให้ จ.ยะลา เป็นศูนย์กลางการผลิต/แปรรูปการเกษตร และตลาดสินค้าการเกษตร 5) ให้ จ.สตูล เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ประตูเชื่อมโยงการท่องเที่ยวและการขนส่งทางทะเลอันดามัน
วิสัยทัศน์ 5 จชต. (กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน) “ศูนย์กลางการผลิตและการส่งออก ยางพารา ผลิตภัณฑ์ฮาลาล การศึกษา การค้าชายแดน การท่องเที่ยวของภาคใต้ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข” ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ 5 จชต. 4 ประเด็น 1) คุ้มครองความปลอดภัย อำนวยความเป็นธรรม 2) สร้างความมั่นคงด้านอาชีพและรายได้ 3) พัฒนาคุณภาพคนให้มีงานทำและยกระดับคุณภาพชีวิต 4) เสริมสร้างความเข้มแข็งของฐานเศรษฐกิจของพื้นที่ และพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศ
กรอบแนวคิดยุทธศาสตร์ IMT – GT จชต. (5 ปี) - วิเคราะห์ศักยภาพ - วิสัยทัศน์ - ประเด็นยุทธศาสตร์ - กลยุทธ์ - ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย - แผนงานโครงการ กรอบแนวคิด จชต. - จังหวัดสงขลา - จังหวัดสตูล - จังหวัดยะลา - จังหวัดปัตตานี - จังหวัดนราธิวาส
การแปลงยุทธศาสตร์IMT - GT สู่การปฏิบัติ 6 Working Group ภาคเอกชน การประชุม - สภาธุรกิจ 3 ประเทศ (JBC)- Governer Forum- จนท.อาวุโส(MM/SOM) - สุดยอดผู้นำ ยุทธศาสตร์ IMT - GT การร่วมประชุม JBC/SOM ภาครัฐ การประชุม - Governer Forum - สุดยอดผู้นำ แผนกลุ่มจังหวัด (ภารกิจ IMT - GT) คำขอ งปม.กลุ่มจังหวัด (โครงการ IMT - GT)
การติดตามประเมินผลและทบทวนยุทธศาสตร์การติดตามประเมินผลและทบทวนยุทธศาสตร์ - การติดตาม : การประชุมตามวาระ : การติดตามผลในพื้นที่ - การประเมินผล : ประเมินผลจากตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : ประเมินความพึงพอใจ : ประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนยุทธศาสตร์ - การทบทวน : ยุทธศาสตร์ (รายปี) : ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย
Best Practice : IMT – GT Plazaแห่งแรก กรอบแนวคิด - ศูนย์รวมสินค้า กลุ่มจังหวัด/3 ประเทศ - ศูนย์จำหน่าย OTOP สู่อุตสาหกรรม - ศูนย์ศึกษาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระบวนการ - วางระบบการบริหารจัดการ - ดำเนินงาน : ส่งออก/นำเข้า - บริหารงานการเงิน/เครดิต/เงินทุน
ผลผลิต/เป้าหมาย - องค์กรค้าร่วม 3 ประเทศ - เขตปลอดภาษี - ศูนย์การค้าและการท่องเที่ยวเชิงพาณิชย์
เวทีระดมความคิดเห็น - กรอบแนวคิด - โครงสร้างองค์กร - การบริหารจัดการ - การประสานงาน/ระดับความร่วมมือ - ทีมงาน (ประเทศ + ภูมิภาค + จังหวัด) - งบประมาณ (ภาครัฐ +เอกชน) - ศักยภาพ : จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส ศักยภาพ - อื่น ๆ