380 likes | 852 Views
ยุทธศาสตร์การค้าชายแดน จังหวัดจันทบุรี. นายชินวัฒน์ มะรินทร์ ผู้ช่วยพาณิชย์จังหวัดจันทบุรี. สระแก้ว. ฉะเชิงเทรา. กัมพูชา. ชลบุรี. ระยอง. ตราด. แผนที่จังหวัดจันทบุรี. อ่าวไทย. พื้นที่ 6,300 ตร.กม. Lao PDR. ศรีสะเกษ. สุรินทร์. นครราชสีมา. ช่องสะงำ. BKK. Vietnam. อรัญประเทศ.
E N D
ยุทธศาสตร์การค้าชายแดนจังหวัดจันทบุรียุทธศาสตร์การค้าชายแดนจังหวัดจันทบุรี นายชินวัฒน์ มะรินทร์ ผู้ช่วยพาณิชย์จังหวัดจันทบุรี
สระแก้ว ฉะเชิงเทรา กัมพูชา ชลบุรี ระยอง ตราด แผนที่จังหวัดจันทบุรี อ่าวไทย พื้นที่ 6,300 ตร.กม.
Lao PDR ศรีสะเกษ สุรินทร์ นครราชสีมา ช่องสะงำ BKK Vietnam อรัญประเทศ อัลลองเวง ปอยเปต ศรีโสภณ เสียมเรียบ สตึงเตร็ง จันทบุรี กำปงธม Battambang ตราด ESB กำปงจาม โพธิสัตว์ พนมเปญ เกาะกง สเรอัมปึล โฮจิมินห์ซิตี้ อ่าวไทย วังเตา สีหนุวิลล์ แนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้ ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม
จังหวัดจันทบุรี ข้อมูลทั่วไป • ชายแดนติดต่อ 86 กม. • ติดต่อ 2 จังหวัด พระตะบองและกรุงไพลิน • ช่องทางการค้า 5 ช่องทาง (ด่านถาวร 2 แห่ง จุดผ่อนปรน 3 แห่ง)
ช่องทางการค้า •บ.ผักกาดโป่งน้ำร้อน - เมืองพรมกรุงไพลิน •บ.แหลมโป่งน้ำร้อน - อ.กร็อมเรียงจ.พระตะบอง •บ.บึงชนังล่างโป่งน้ำร้อน-อ.กร็อมเรียงพระตะบอง •บ.สวนส้มอ.สอยดาว - อ.กร็อมเรียงจ.พระตะบอง •บ.ซับตารีอ.สอยดาว - อ.พนมปรึกจ.พระตะบอง
เวลาเปิด-ปิดด่าน ด่านถาวร 07.00 น. - 20.00 น. จุดผ่อนปรน 07.00 น. - 16.00 น.
ศักยภาพการค้าชายแดน เป็นช่องทาง ส่งออกสินค้าไปสู่ประเทศกัมพูชา เวียดนามและจีนตอนใต้ (มณฑลกวางสี) เป็นแหล่ง นำเข้า วัตถุดิบสินค้าเกษตรที่ต้องการได้แก่ ถั่วเหลือง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เมล็ดงาถั่วลิสงมันสำปะหลังฯลฯ
จุดแข็ง(STRENGTHEN) • มีช่องทางการค้าหลายช่องทาง • เส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงเพื่อนบ้านหลายสาย • การเดินทางเข้า-ออกสะดวก (คนและสิ่งของ) • อยู่ติดกับพื้นที่การเกษตรของเพื่อนบ้าน • ช่องทางยังสามารถขยายความเจริญเติบโต
จุดอ่อน (WEAKNESS) • ผู้ประกอบการชายแดนยังไม่เข้มแข็ง ขาดธรรมาภิบาล • ข้อมูลด้านการนำเข้า-ส่งออกไม่ครบถ้วน • สินค้าส่งออกส่วนใหญ่ผ่านพิธีการเป็นสินค้าจากที่อื่น • ขาดการประชาสัมพันธ์ศักยภาพตลาด • ขาดการติดตาม/ประสานงาน/เชื่อมโยงระหว่างส่วนกลางกับภูมิภาค ภูมิภาคกับภูมิภาค
โอกาส (OPPORTUNITY) • นโยบายรัฐบาลชัดเจน ต่อเนื่อง • กรอบความร่วมมือต่าง ๆ เช่น ทางความมั่นคงของประเทศทั้งสองฝ่าย และยกระดับเศรษฐกิจ(ECS)ตามแนวบริเวณชายแดนของประเทศทั้งสองฝ่าย • เขตการค้าเสรี AFTA(เขตการค้าเสรี) ASEAN (สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีสมาชิก 10 ประเทศ มีประชากรรวม กว่า 500 ล้านคน)
อุปสรรค (THREATS) • โครงสร้างพื้นฐานของเพื่อนบ้านยังไม่ดี • หนังสือผ่านแดนเดินทางได้ไม่ถึงตัวจังหวัด • กฎระเบียบการค้าไม่เอื้ออำนวย (ทั้งไทย/กัมพูชา) • ประเทศเพื่อนบ้านยังไม่กระจายอำนาจมาจังหวัด
ปี 2548 มูลค่ารวม 2,468 ล้านบาท ส่งออก 2,356 ล้านบาท นำเข้า 111 ล้านบาท ดุลการค้า 2,245 ล้านบาท ปี 2549 มูลค่ารวม 2,909 ล้านบาท ส่งออก 2,776 ล้านบาท นำเข้า 132 ล้านบาท ดุลการค้า 2,643 ล้านบาท มูลค่าการค้าชายแดน จังหวัดจันทบุรี
มูลค่าการค้าชายแดนจังหวัดจันทบุรีมูลค่าการค้าชายแดนจังหวัดจันทบุรี ปี 2549 (มกราคม - เมษายน) • มูลค่ารวม 1,123.67 ล้านบาท(54.47%) • ส่งออก 1,073 ล้านบาท (54.44%) • นำเข้า 50.04 ล้านบาท (55.15%) • ดุลการค้า 1,023 ล้านบาท (54.06%) ปี 2550 (มกราคม - เมษายน) • มูลค่ารวม 660.80 ล้านบาท (77.29%) • ส่งออก 646.06 ล้านบาท (76.73%) • นำเข้า 14.74 ล้านบาท (88.89%) • ดุลการค้า 631.32 ล้านบาท(76.12%) มูลค่ารวมลดลง 465.87 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.46 มูลค่าการส่งออกลดลง 426.94 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 39.79 มูลค่าการนำเข้าลดลง 32.30 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 64.55 มูลค่าดุลการค้าลดลง 391.68 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 38.29
ปี 2548 น้ำมันเชื้อเพลิง 31.85 % รถยนต์เก่าใช้แล้ว 12.10 % เบียร์ 8.18 % เครื่องดื่มประเภทนม 5.04 % ปูนซีเมนต์ 4.37 % น้ำตาลทราย 3.71 ผลไม้สด 3.47 % ปี 2549 น้ำมันเชื้อเพลิง 18.17 % เบียร์ 10.54 % รถยนต์เก่าใช้แล้ว 9.80 % ขนม 7.78 % วิสกี้ 7.63 % ปูนซีเมนต์ 4.54 % กระดาษถ่ายเอกสาร 4.12 % สินค้าส่งออกที่สำคัญ
ปี 2548 ผลไม้สด 50.36 % ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 11.51 % ไม้แปรรูป 11.21 % เมล็ดงา 10.46 % ไม้ไผ่ลำ 8.01 % เมล็ดถั่วเหลือง 2.81 % ปี 2549 เมล็ดถั่วเหลือง 32.18 % หนังโคหมักเกลือ 19.96 % ผลไม้สด 18.15 % ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 17.83 % ไม้ไผ่ลำ 4.79 % หนังกระบือหมักเกลือ 2.17 % สินค้านำเข้าที่สำคัญ
ยุทธศาสตร์การค้า • รักษาและพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน ทุกเรื่องทุกระดับ (รัฐ/เอกชน) • อำนวยความสะดวกทางการค้า SingleWindow • พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารการค้าชายแดน • ขยายการค้าและท่องเที่ยวสู่ภูมิภาคอินโดจีน
ยุทธศาสตร์การค้า (ต่อ) • พัฒนาผู้ประกอบการชายแดนให้เข้มแข็ง แข่งขันได้ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง • ส่งเสริมการลงทุน Contract Farming บริเวณชายแดนเพื่อนบ้าน • พัฒนาเส้นทางคมนาคม และโครงสร้างพื้นฐาน • เศรษฐกิจของจังหวัดและความเจริญ ความมั่นคง
การส่งเสริมและพัฒนาการค้ากับประเทศเพื่อนบ้านประเด็นยุทธศาสตร์ของ ACMECSมีจำนวน 5 ด้าน ประกอบด้วย 1.การส่งเสริมทางการค้าและการลงทุน 2.ความร่วมมือทางการเกษตรและอุตสาหกรรม 3.การเชื่อมโยงเส้นทางการคมนาคมขนส่ง 4.ความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว 5.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แผนการลงทุนContract Farming • Demandสินค้าเป้าหมายเพื่อบริโภค/ส่งออกปีละ 7.50 ล้านตัน • Supplyประเทศไทยผลิตเอง 70% หรือ 5.10 ล้านตัน นอกนั้นต้องนำเข้าจากประเทศที่สาม 30 %หรือ2.40 ล้านตัน • พืชเป้าหมายปัจจุบันมี 11 ชนิด ได้แก่ 1.) ถั่วเหลือง 2.) ถั่วลิสง 3.) ละหุ่ง 4.) ข้าวโพดหวาน 5.) มันฝรั่ง 6.) มะม่วงหิมพานต์ 7.) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 8.) ยูคาลิปตัส 9.) ลูกเดือย 10.) ถั่วเขียวผิวมัน 11.) งา
ประเทศไทย เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้อุตสาหกรรมที่ใช้วัตถุดิบเกษตรของไทย สนองตอบการปรับโครงสร้างทางการเกษตรของประเทศ จัดระบบเศรษฐกิจและลดปัญหาความมั่นคงชายแดน ประเทศเพื่อนบ้าน ยกระดับคุณภาพการผลิตผ่านการให้ความช่วยเหลือวิชาการ สร้างงานให้ประชาชนและเพิ่มโอกาสการลงทุนธุรกิจต่อเนื่องนำไปสู่การแก้ไขปัญหายากจน พัฒนาพื้นที่/โครงสร้างพื้นฐานนำมาสู่การยกระดับสภาพแวดล้อมชุมชนและคุณภาพชีวิต ผลที่จะได้รับ
พื้นที่การเกษตรของเพื่อนบ้านพื้นที่การเกษตรของเพื่อนบ้าน • อ. กร็อมเรียง20,000 เฮกตาร์ • อ. พนมปรึก32,819 เฮกตาร์ • อ. สำเภาลูน 22,800 เฮกตาร์ ( 1 เฮกตาร์ = 6.25 ไร่)
พื้นที่Contract Farming ชายแดนไทย-กัมพูชา • เอกชน : 21 ราย • พื้นที่ :ชายแดนพระตะบอง/ไพลิน48,920 ไร่ • แผนการผลิต :ต.ค 48– มี.ค 49 • 1. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 23,900 ไร่ 34,950 ตัน • 2. ถั่วเหลือง 15,100 ไร่ 20,160 ตัน • 3. ถั่วลิสง 3,990 ไร่ 1,320 ตัน • 4. ถั่วเขียว 5,430 ไร่ 1,730 ตัน • 5. ข้าวโพดหวาน 500 ไร่ 1,000 ตัน • ผลผลิต :59,160 ตัน • การสนับสนุน :1.ปรับปรุงถนน 4 เส้นทาง97 ล้าน 2.ต้นพันธุ์ยางพารา /เมล็ดพันธุ์ 3. เทคโนโลยีการผลิต
ที่ตั้งยุทธศาสตร์ของไทยกับกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงที่ตั้งยุทธศาสตร์ของไทยกับกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เกาหลี จีน อัฟกานิสถาน ญี่ปุ่น เอเซียตะวันออก ปากีสถาน อินเดีย บังกลาเทศ เอเซียกลาง เอเซียใต้ ตะวันออกกลาง ยุโรป แอฟริกา อเมริกา พม่า ลาว ทะเลจีนใต้ ไทย Vietnam ฟิลิปปินส์ อ่าวเบงกอล กัมพูชา อ่าวไทย ศรีลังกา มาเลเซีย บรูไน สิงคโปร์ อาเซียน / ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ประชากร : 312 ล้านกับอีก 2,400 ล้าน (อินเดีย และจีน)
EU ACD ASEM GMS + ACMECS NAFTA APEC BIMST-EC • ASEAN • AFTA • IAI • AEC WTO IMT-GT ไทยกับกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค Korea Japan PRC FTAs… e.g. China, Australia, New Zealand, Bahrain, India, USA, Japan, etc…
แม่สาย-เชียงตุง-เชียงรุ่ง-คุนหมิงแม่สาย-เชียงตุง-เชียงรุ่ง-คุนหมิง เชียงของ-หลวงน้ำทา-เชียงรุ่ง-คุนหมิง มุกดาหาร-สะหวัน นะเขต-ดองฮา-ดานัง แม่สอด-เมียวดี- เมาะละแหม่ง-ย่างกุ้ง กรุงเทพ-พนมเปญ - โฮจิมินห์-วังเตา จันทบุรี-ตราด-เกาะกง-สีหนุวิลล์ เส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ต้าลี่ คุนหมิง มูเซ เชียงรุ่ง ลาเซียว เหอโข่ว ลาวไค ต้าลั่ว โมฮัน มัณฑะเลย์ ต้าลั่ว ฮานอย เชียงตุง บ่อเต็น หลวงน้ำทา ท่าขี้เหล็ก ไฮฟอง ห้วยทราย แม่สาย หลวงพระบาง ปากแบ่ง เชียงราย เชียงของ ห้วยโก๋น วินห์ ทะเลจีนใต้ เวียงจันทน์ เชียงใหม่ นครพนม สะหวันนะเขต ดองฮา แม่สอด มุกดาหาร ย่างกุ้ง ดานัง เมาะละแหม่ง ปากเซ อุบลราชธานี อัตตะปือ กรุงเทพฯ อรัญประเทศ เสียมเรียบ Poipet สตึงเตร็ง จันทบุรี ตราด พนมเปญ เกาะกง โฮจิมินห์ ทะเลอันดามัน สีหนุวิลล์ วังเตา อ่าวไทย ภูเก็ต สงขลา มาเลเซีย
การพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน Korea China Afganistan Japan Pakistan Bangladesh India Myanmar Laos Thailand Vietnam Philippines Cambodia Sri Lanka Malaysia Brunei Singapore Indonesia
สภาพปัจจุบัน : ไทยมีระดับการพัฒนาสูงกว่า ประเทศเพื่อนบ้าน GDP : พันล้านบาท รายได้ : บาทต่อปี • ค่าจ้างแรงงาน : ไทยสูงกว่า พม่า ลาว กัมพูชา 5-7 เท่า
FLOW ของปัจจัยการผลิต เงินทุน ประเทศ เพื่อนบ้าน การคาดการณ์ในอนาคต • ช่องว่างทางเศรษฐกิจจะห่างมากขึ้นระหว่างไทยกับเพื่อนบ้าน • การ Flow จะมากขึ้นหากเศรษฐกิจไทยเข้มแข็งและขยายตัวเร็วกว่าเพื่อนบ้าน เทคโนโลยี วัตถุดิบ ไทย แรงงาน Flow ของปัจจัยการผลิตบางส่วนทำให้เกิดปัญหา โดยเฉพาะแรงงานหลบหนีเข้าเมืองสิ่งผิดกฎหมายยาเสพติด FLOW ของสินค้า Primary Product ไทย ประเทศ เพื่อนบ้าน Finished Product
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในลุ่มแม่น้ำโขงความร่วมมือทางเศรษฐกิจในลุ่มแม่น้ำโขง เป้าหมาย:เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยการเชื่อมโยงเศรษฐกิจในอนุภูมิภาค 9 สาขาความร่วมมือ:คมนาคมขนส่งพลังงานโทรคมนาคม ท่องเที่ยวสิ่งแวดล้อม HRD อำนวยความสะดวกทางการค้าการลงทุนเกษตร Yunnan GuangXi Myanmar ทะเลจีนใต้ • Highlight: ความสำเร็จที่ผ่านมา • เศรษฐกิจขยายตัว 9% • ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้นในกลุ่มประเทศสมาชิก • ความก้าวหน้าการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและซอฟท์แวร์เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจ • ส่งเสริมสนับสนุนความร่วมมือแบบ South-South โดยมีไทยและจีนเป็นประเทศผู้ให้ (Emerging Donors) Thailand Vietnam Cambodia ทะเลอันดามัน อ่าวไทย
โครงการก่อสร้างถนนสาย 48 : เกาะกง–สะแรอัมเบิล (151กม.) THAILAND ไทยให้ความช่วยเหลือแบบให้เปล่าในการก่อสร้างสะพาน 4 แห่ง วงเงิน 288.3 ลบ. โดยใช้งบกลางปี 46 และ อนุมัติเงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรนการก่อสร้างลาดยางถนน วงเงิน 867.8 ลบ. แก่กัมพูชา จันทบุรีตราด VIETNAM Sre Amble – Phnom Penh CAMBODIA บ้านหาดเล็ก เกาะกง พนมเปญ 48 4 3 ลักษณะโครงการ ก่อสร้างลาดยาง 2 ช่องจราจร ระยะทาง 151กม. สะพานข้ามแม่น้ำ 4 แห่ง ความยาวรวม 1,560 ม. อ. สะแรอัมเบิล กำพต Thai / Cambodian Border สีหนุวิลล์ ฮาเตียน สถานะปัจจุบัน งานถนน คาดว่าแล้วเสร็จกลางปี 2550 งานสะพาน คาดว่าแล้วเสร็จปลายปี 2550 Koh Kong Industrial Estate Ca Mau 30 Route No. 48
i 6.สาขาท่องเที่ยว การท่องเที่ยว Lijiang Kunming • ทำการตลาดท่องเที่ยว Six Countries One Destination • ตั้งสำนักงานศูนย์กลางการท่องเที่ยวของอนุภูมิภาค (AMTA) ที่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา • ริเริ่มแนวคิด GMS VISA Dali Stone Forest Mingun Pagoda Xishuangbanna Mandalay Hanoi City Bagan Haiphong Inle Lake Halong Bay Tauangyi Luang Prabang Ninh Binh Plain of Jars ทะเลจีนใต้ Xieng Khouang Chiangrai Vientiane Thua Thien Hue Lak Sao Yangon Kyaitiyo (Golden Rock) ขอนแก่น สุโขทัย Shwedagon Pagoda Quangnam-Danang ตาก Ubon Ratchathani Champasak Prasat Hin Khao Phnom Rung Historical Park Angkor Temple The Old Royal City ( Rattanakosin Island ) Siem Reap Rattanakiri Tonle Sap Lake อันดามัน Phnom Penh and Surroundings Ho Chi Minh City Sihanoukville อ่าวไทย แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ เส้นทางเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว
เร่งรัดพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจเร่งรัดพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ Kunming Nanning PR China Myanmar Mekong Vietnam Lao PDR Huaysai Vientiane Tachilek Chiang Saen Mae Sai Chiang Khong Nong Khai Yangon (Seaport 10,000- 15,000 DWT) ChiangRai (Logistic & Distribution Centre Udon Thani Mekong River Hue (World Heritage) Tak SBEZ Savanh-Seno SEZ Mukdahan Distribution Centre Lao Bao SEZ Dansavanh Contract Farming KhonKaen (Logistic Centre/IE) Phitsanulok (Logistic Centre) Mawlamyine Dongha (tourism) Danang (Deep Seaport 35,000 DWT) ไทย กทม. ปอยเปต อรัญประเทศ Contract Farming พนมเปญ โฮจิมินห์ Contract Farming จันทบุรี วังเตา (ท่าเรือน้ำลึก) ตราด เกาะกง Mekong River กัมพูชา Malaysia Kota Berdana
ศักยภาพการพัฒนาภูมิภาคของไทยเชื่อมโยงกับกัมพูชาศักยภาพการพัฒนาภูมิภาคของไทยเชื่อมโยงกับกัมพูชา • ส่งเสริม Contract Farming ของจันทบุรี ตามกรอบ ACMECS (ครอบคลุมพืชเศรษฐกิจ 11 ชนิด และพืชพลังงาน) • นำร่อง มาตรการยกเว้นภาษีพืชเป้าหมาย ภายใต้แผนปฏิบัติการ ACMECS จันทบุรี-พระตะบอง/ไพลิน เกษตร อุตสาหกรรม • อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร โดยเฉพาะสินค้าเกษตร Contract Farming • สนับสนุนการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในกัมพูชา บริการและการท่องเที่ยว • พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชื่อมโยง ทางบก / ทางทะเล • พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ / เชิงเกษตร • พัฒนาตลาดการค้าชายแดนที่จันทบุรี สระแก้ว คมนาคมขนส่ง • เชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม ปัจจัยสนับสนุนคือ GMS CBTA
แนวทางพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ (ไทย-กัมพูชา) เมืองทางฝั่งไทย เมืองทางฝั่งกัมพูชา เมืองหลวง / ศูนย์กลางหลัก จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม / พื้นที่อุตสาหกรรม เขตเศรษฐกิจการท่องเที่ยว เขตเศรษฐกิจการเกษตร ทะเลจีนใต้ เป้าหมายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ : • เขตประกอบการอุตสาหกรรม เขตการผลิตร่วมเน้นใช้ GSP วัตถุดิบ และแรงงาน • Logistic industry • เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว • ตลาดกลางสินค้าเกษตรร่วม • เชื่อมโยงธุรกิจบริการ • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน Sister Cities: ที่มีศักยภาพ • จันทบุรี-ตราด – เกาะกง • อรัญประเทศ – ปอยเปต • บ้านผักกาด – ไพลิน • ช่องจอม – ภูมิสำโรง • ช่องสะงำ – อัลลองเวง อุบลราชธานี บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ ช่องจอม ช่องสะงำ กรุงเทพฯ ภูมิสำโรง จอมกะสาน อัลลองเวง ปอยเปต อรัญประเทศ ศรีโสภณ เสียมเรียบ พระตะบอง ไพลิน จันทบุรี โพธิสัตว์ ตราด เกาะกง พนมเปญ กำปงสะปือ อ่าวไทย สีหนุวิลล์ โฮจิมินห์ซิตี้
การพัฒนานิคมอุตสาหกรรม และการย้ายฐานลงทุน ไทยประกาศเขตเศรษฐกิจชายแดน 2 แห่ง ที่ จ.เชียงราย และจ.ตาก และช่วยศึกษาจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ/นิคมอุตสาหกรรม ในพม่า ลาว และกัมพูชา Savan Xeno SBEZ Chiang Rai SBEZ Mae Sot SBEZ and IE in Myawaddy Pa-an Mawlamyine and Maw Taung Industrial Estate Establishment เป้าหมาย : อุตสาหกรรมที่ไทยเสียเปรียบและเน้นใช้วัตถุดิบแรงงานในเพื่อนบ้าน เช่น แปรรูปเกษตร/ไม้ สิ่งทอ เครื่องประดับ ท่องเที่ยว อุปโภคบริโภควัสดุก่อสร้าง เครื่องมือเกษตร ขนส่งและโลจิสติกส์ Koh Kong Industrial Estate
ศักยภาพการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเกาะกงศักยภาพการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเกาะกง • อุตสาหกรรมที่มีความเป็นไปได้ในการลงทุน • อุตสาหกรรมสิ่งทอ • อุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตร • อุตสาหกรรมที่ได้รับสิทธิพิเศษทางศุลกากร • เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานจำนวนมากภายในประเทศ • เป็นอุตสาหกรรมที่ส่งเสริมการใช้วัตถุดิบภายในประเทศ • เป็นอุตสาหกรรมที่สนับสนุนการส่งออกของประเทศ ที่มา : การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
จบการนำเสนอขอขอบคุณนายชินวัฒน์ มะรินทร์ผู้ช่วยพาณิชย์จังหวัดจันทบุรี • สำนักงานพาณิชย์จังหวัดจันทบุรี • 1162/2 ต.ตลาด ถ.ท่าแฉลบ อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 • โทรศัพท์ 039 – 311357 โทรสาร 039 - 322026 • มือถือ 089 - 7996429