250 likes | 411 Views
ข้อดีของการย่อยสลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนแบบสองขั้นตอน ( anaerobic digestion). สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้ ลดขนาดถังหมักมีผลให้ประหยัดค่าใช้จ่าย อัตราการเกิดก๊าซชีวภาพมีเปอร์เซ็นต์ของก๊าซมีเทนสูง เหมาะกับการติดตั้งร่วมกับระบบที่มีอยู่แล้ว
E N D
ข้อดีของการย่อยสลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนแบบสองขั้นตอน (anaerobic digestion) • สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้ • ลดขนาดถังหมักมีผลให้ประหยัดค่าใช้จ่าย • อัตราการเกิดก๊าซชีวภาพมีเปอร์เซ็นต์ของก๊าซมีเทนสูง • เหมาะกับการติดตั้งร่วมกับระบบที่มีอยู่แล้ว • ลดองค์ประกอบของไนโตรเจนของน้ำเสียที่ออกจากระบบ • ลดเวลาในการย่อยสลาย โดยที่จุลินทรีย์ยังสามารถทำงานได้ในอัตราสูง
ข้อเสียของการย่อยสลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนแบบสองขั้นตอน (anaerobic digestion) • ต้องการควบคุมโดยผู้ชำนาญการ (need for skill operator) • ต้องมีอุปกรณ์เพิ่มขึ้นเพื่อใช้สำหรับตรวจสอบ ติดตามและควบคุม (Additional instrument for monitoring and control)
การลดปริมาณของแข็งทั้งหมด(total solid,TS)
การลดปริมาณของแข็งระเหยทั้งหมด(total volatile solids,TVS)
การลดปริมาณของแข็งแขวนลอย (suspended solids,SS)
ค่าเฉลี่ยความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตก๊าซมีเทนกับ (ภายใต้สภาวะการทดลอง)
ค่าเฉลี่ยความสัมพันธ์ระหว่างค่า HRT และ OLR กับปริมาณก๊าซชีวภาพทั้งหมดที่เกิดขึ้นและประสิทธิภาพการกำจัดค่า COD
เปรียบเทียบผลการทดลองที่ได้กับการศึกษาที่ผ่านมาเปรียบเทียบผลการทดลองที่ได้กับการศึกษาที่ผ่านมา ประสิทธิภาพของระบบ เครื่องกรองไร้ออกซิเจน:ขึ้นอยู่กับปริมาณการยึดเกาะของจุลินทรีย์กับพื้นผิวตัวกลาง ถังหมักไร้ออกซิเจนแบบ 2 ขั้นตอน: ไม่มีปัญหาการยืดเกาะ
เปรียบเทียบผลการทดลองที่ได้กับการศึกษาที่ผ่านมาเปรียบเทียบผลการทดลองที่ได้กับการศึกษาที่ผ่านมา