340 likes | 403 Views
การใช้ฐานข้อมูล IEEE Xplore. โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. Main Menu. Main Menu. มารู้จักกับ IEEE Xplore จะสืบค้นข้อมูลจาก IEEE Xplore ได้อย่างไร ? วิธีการสืบค้นข้อมูล ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูลและการแสดงผล หน้าจอแสดงผลแบบต่าง ๆ
E N D
การใช้ฐานข้อมูล IEEE Xplore โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Main Menu Main Menu • มารู้จักกับ IEEE Xplore • จะสืบค้นข้อมูลจาก IEEE Xplore ได้อย่างไร ? • วิธีการสืบค้นข้อมูล • ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูลและการแสดงผล • หน้าจอแสดงผลแบบต่าง ๆ • เทคนิคการใช้ตัวเชื่อมในการสืบค้นแบบ Advanced Search • การ Download Citation & Abstract • การจัดการผลการสืบค้นข้อมูล Save & Print
มารู้จักกับ IEEE Xplore มารู้จักกับ IEEE Xplore เป็นฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของสิ่งพิมพ์สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ที่จัดพิมพ์โดย The Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE) และ The Institution of electrical Engineers (IEEE) ซึ่งมีจำนวนมากกว่า 1,008,086 รายการ ได้แก่ วารสาร รายงานการประชุม และเอกสารมาตรฐาน มีการเพิ่มข้อมูลใหม่ ประมาณเดือนละ 25,000 หน้า Main Menu
จะสืบค้นข้อมูลจาก IEEE Xplore 1ได้อย่างไร? จะสืบค้นข้อมูลจาก IEEE Xplore ได้อย่างไร ? URL : http://ieeexplore.ieee.org/Xplore/DynWel.jsp http://www.lib.kmutt.ac.th http://www.kmutt.ac.th http://www.uni.net.th Main Menu
วิธีการสืบค้นข้อมูล วิธีการสืบค้นข้อมูล • การสืบค้นจาก Tables of Contents • การสืบค้นจาก Author • การสืบค้นแบบ Basic Search • การสืบค้นแบบ Advanced Search Main Menu
การสืบค้นจาก Tables of contents Tables of Contents เป็นการสืบค้นโดยเลือกชื่อวารสาร, รายงานการประชุม, เอกสารมาตรฐาน ในกรณีที่รู้ชื่อ - Journals & Magazines - Standards - Conference Proceedings Main Menu
Table of contents : Journals & Magazines 2 1 3 4 1. Browse โดยเลือกประเภทเป็น Journals & Magazines 2. พิมพ์ Journal Titles ในช่องรับคำค้น 3. เลือกจากตัวอักษรที่นำหน้าชื่อวารสาร 4. ปรากฏชื่อวารสาร เรียงตามอักษรที่เลือกในข้อ 3 Main Menu
Tables of contents : Conference Proceedings 2 3 1 4 1. Browse โดยเลือกประเภทเป็น Conference Proceedings 2. พิมพ์ Conference Titles ในช่องรับคำค้น 3. เลือกจากตัวอักษรที่นำหน้าชื่อวารสาร 4. ปรากฏรายชื่อรายงานการประชุม เรียงตามอักษรที่เลือกในข้อ 3 Main Menu
Tables of Contents : Standards 2 1 3 1. Browse โดยเลือกประเภทเป็น Standards 2. พิมพ์ Standards Titles หรือ Standard Number ในช่องรับคำค้น 3. ปรากฏรายชื่อหนังสือมาตรฐาน เรียงตามอักษรที่เลือกในข้อ 2 Main Menu
การสืบค้นจาก Author 2 3 1 1. Search จาก By Author เป็นการสืบค้นจากชื่อผู้แต่ง ในกรณีที่ทราบชื่อผู้แต่งบทความนั้น ๆ 2. พิมพ์ชื่อสกุลผู้แต่งหรือผู้เขียนในช่องรับคำค้น 3. เลือกจากรายชื่อผู้แต่งหรือผู้เขียน ที่เรียงตามลำดับตัวอักษร A-Z Main Menu
การสืบค้นแบบ BasicSearch 5 2 4 3 1 1. Basic Search 2. พิมพ์คำที่ต้องการสืบค้นในช่องรับคำค้น 3. ใช้ Search operators ได้แก่ and, or, not ในกรณีที่ใช้คำค้น 2 คำขึ้นไป 4. เลือกเขตข้อมูลที่ใช้สืบค้น เช่น Title, Author, Publication Name, Abstract, Index Terms, Affiliation, All Fields 5. กำหนดประเภทสิ่งพิมพ์, ช่วงปี และการแสดงผล Main Menu
การสืบค้นแบบ Advanced Search 3 2 1 1. Advanced Search 2. พิมพ์คำที่ต้องการสืบค้น โดยสามารถกำหนดตัวเชื่อม (Search operators) ต่างๆ เพื่อให้ตรงตามเงื่อนไขที่ต้องการ ซึ่งจะแตกต่างจาก การสืบค้นแบบ Basic Search ตรงการใช้ตัวเชื่อม โปรดดูรายละเอียดในหัวข้อ “เทคนิคการใช้ตัวเชื่อมในการสืบค้นแบบ Advanced Search” 3. กำหนดประเภทสิ่งพิมพ์, ช่วงปี และการแสดงผล Main Menu
ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูลตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล • แบบ Journals & Magazines • แบบ Conference Proceedings • แบบ Standards • แบบ Author • แบบ Basic Search • แบบ Advanced Search Main Menu
ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล : Journals & Magazines (1) ปรากฏชื่อวารสาร 1 รายการ 1. พิมพ์ชื่อวารสารในช่องรับคำค้น 2. คลิกปุ่ม Go 3. จะปรากฏชื่อวารสารที่ต้องการ ได้แก่ Ultrasonics, Ferroelectrics and Frequency Main Menu
ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล : Journals & Magazines (2) 1 2 3 5 4 1. เลือกอ่านบทความฉบับปัจจุบัน 2. เลือกอ่านวารสารฉบับย้อนหลัง 3. สืบค้นบทความที่ต้องการจากวารสาร 4. ดูรายละเอียดวารสาร 5. เลือกอ่านวารสารฉบับย้อนหลัง ในที่นี้จะเลือก ปี 2003 Main Menu
ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล : Conference Proceedings (1) 1. พิมพ์ชื่อรายงานการประชุมในช่องรับคำค้น 2. คลิกปุ่ม Go 3. จะปรากฏชื่อรายงานการประชุม ในที่นี้จะเลือก Machine learning and Cybernetics, 2003 Main Menu
ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล : Conference Proceedings (2) 1 2 1. เลือกอ่านบทความ จากชื่อรายงานการประชุมที่มีอยู่ 5 ฉบับ 2. สืบค้นบทความจากชื่อรายงานการประชุม Main Menu
ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล : Standards 1.พิมพ์คำสืบค้นลงในช่องรับคำค้น 2.คลิกปุ่ม Go 3.จะปรากฏชื่อ หนังสือมาตรฐาน และ หมายเลขหนังสือมาตรฐาน ในที่นี้จะเลือก ANSI/IEEE Std C57.91-1987 Main Menu
ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล : By Author มีการค้นพบ 1 รายการ จากชื่อสกุลผู้แต่ง 1 2 1. พิมพ์ชื่อสกุลของผู้แต่งลงในช่องรับคำค้น 2. เลือกชื่อสกุลของผู้แต่งได้จาก Index ซึ่งมีตัวอักษร A-Z|ALL ให้เลือก 3. คลิกปุ่ม Go Main Menu
ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล : Basic Search มีการค้นพบ 6 รายการ 4 1 2 5 3 1. พิมพ์คำค้นลงในช่องรับคำค้น 2.กำหนด fields ให้สืบค้นในช่อง In ว่าคำที่ต้องการสืบค้นเป็น Title, Author, Index Terms ฯลฯ 3.ใช้ตัวเชื่อมเพื่อทำให้การสืบค้นแคบเข้าโดยใช้ Boolean 3 ตัว คือ And, Or และ Not 4. เลือกแหล่งที่ต้องการสืบค้นจากสิ่งตีพิมพ์ชนิดใดก็ได้ ได้แก่ Journals, Conference Proceedings และ Standards 5. กำหนดช่วงปีที่ต้องการสืบค้น 6.กด Search Main Menu
ตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล : Advanced Search มีการค้นพบ 5 รายการ 2 3 1 1. พิมพ์คำค้นลงในช่องรับคำค้น โดยกำหนด ตัวเชื่อมต่างๆ เพื่อให้ตรงตามเงื่อนไขที่ต้องการ 2. เลือกแหล่งที่ต้องการสืบค้นจากสิ่งตีพิมพ์ชนิดใดก็ได้ ได้แก่ Journals, Conference Proceedings และ Standards 3. กำหนดช่วงปีที่ต้องการสืบค้น 4. คลิกปุ่ม Start Search Main Menu
หน้าจอแสดงผลแบบต่าง ๆ หลังจากทำการสืบค้นระบบจะแสดงผลการสืบค้นบนหน้าจอ ดังภาพ โดยบอกลักษณะข้อมูลของบทความจากฐานข้อมูล ดังนี้ Main Menu
หน้าจอแสดงผลแบบต่าง ๆ : Abstract Abstract - ให้ข้อมูลเกี่ยวกับชื่อผู้แต่ง, ชื่อวารสาร, สำนักพิมพ์, ปีพิมพ์, ฉบับที่, เล่มที่, เลข ISSN และ สาระสังเขปของบทความ รวมทั้ง ให้ Index Terms เพื่อช่วยในการสืบค้นเบทความที่มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกัน Main Menu
หน้าจอแสดงผลแบบต่าง ๆ : PDF PDF - ให้ข้อมูลบทความฉบับเต็มเหมือนต้นฉบับในตัวเล่มวารสาร โดยใช้โปรแกรม Adobe Acrobat Main Menu
เทคนิคการใช้ตัวเชื่อมในการสืบค้นแบบ Advanced Search 2 1 เทคนิคการใช้ตัวเชื่อมในการสืบค้นแบบ Advanced Search แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. การใช้ตัวเชื่อม (Search Operators) 2. รหัสเขตข้อมูล (Field Codes) Main Menu
เทคนิคการใช้ตัวเชื่อมในการสืบค้นแบบ Advanced Search : Search Operators(1) 1. การใช้ตัวเชื่อม (Operators)มี 3 ลักษณะ คือ Logical Operators, Proximity Operators และ การใช้ตัวปรับแต่ง (Modifiers) 1.1 Logical Operators : จะประกอบด้วย x <and> y ใช้เพื่อจำกัดการสืบค้นให้แคบลง ต้องการให้ระบบสืบค้นแสดงเฉพาะรายการที่มีคำค้น หรือเงื่อนไขตามที่ต้องการ x <or> y ใช้เพื่อการขยายการสืบค้นให้กว้างขึ้น ต้องการให้ระบบสืบค้นแสดงทุกรายการที่มีคำค้น หรือเงื่อนไขตามที่ต้องการ <not> x ใช้เพื่อจำกัดการสืบค้นให้แคบลง ต้องการให้ระบบสืบค้นแสดงทุกรายการที่มีคำค้น หรือเงื่อนไขตามที่ต้องการ 1.2 Proximity Operators : จะประกอบด้วย x <in> yให้ระบบสืบค้นดึงเฉพาะรายการที่มีคำสำคัญซึ่งอยู่ในเขตข้อมูลที่ต้องการ x <paragraph> yให้ระบบสืบค้นเฉพาะรายการที่มีคำสำคัญที่ระบุให้อยู่ในหน้าเดียวกัน x <sentence> y ให้ระบบสืบค้นเฉพาะรายการที่มีคำสำคัญที่ระบุอยู่ในประโยคเดียวกัน x <phrase> yให้ระบบสืบค้นเฉพาะรายการที่มีคำสำคัญที่ระบุอยู่ในวลีเดียวกัน x <near/y> zให้ระบบสืบค้นเฉพาะรายการที่มีคำสำคัญที่ระบุไว้ให้อยู่ใกล้กันกี่ตัวอักษร ในระยะตามจำนวนตัวเลขที่ระบุไว้ Main Menu
เทคนิคการใช้ตัวเชื่อมในการสืบค้นแบบ Advanced Search : Search Operators(2) 1.3 การใช้ตัวปรับแต่ง (Modifiers) เป็นตัวแปรที่ใช้ในภาษาการสืบค้น เพื่อปรับแต่งผลลัพธ์หรือควบคุมผลลัพธ์ซึ่งได้จากการกำหนดคำค้นร่วมกับการใช้คำเชื่อมต่างๆ ให้มีผลเป็นไปตามตัวแปรที่ใช้เพื่อปรับเปลี่ยนผลลัพธ์การสืบค้นในแต่ละครั้งให้ตรงกับความต้องการมากยิ่งขึ้น ตัวแปรเหล่านี้ ได้แก่ <many> x เป็นตัวเชื่อมที่ใช้ให้แต้มคะแนนผลของการสืบค้น โดยพิจารณาจากความถี่ของคำค้นที่ระบุ <order> xเป็นตัวเชื่อมที่ใช้กับตัวเชื่อมแบบ Proximity Operators เพื่อกำหนดขอบเขตการสืบค้นให้แคบลง เนื่องจากช่วยในการเรียง ลำดับของการปรากฏของคำค้นที่พิมพ์เข้าไปให้ระบบสืบค้น <thesaurus> xเป็นตัวเชื่อมให้สืบค้นหารายการที่มีคำค้นที่ต้องการ ในขณะเดียวกัน ระบบจะค้นรายการที่มีความหมายเหมือนกับ คำค้นนั้น ๆ ด้วย เป็นการขยายขอบเขตของการสืบค้นให้กว้างขึ้น <wildcard> `x`เป็นตัวเชื่อมที่ใช้สืบค้นคำที่มีการสะกดหลายแบบ หรือคำที่มีอักขระพิเศษเฉพาะ โดยชุดคำค้นที่ตามหลัง มีดังนี้ - `[xy]`, `[^xy]`ถ้าเป็นอักขระแบบ alphanumeric character จะต้องตรงกันทุกประการ และอักขระเดี่ยวที่อาจเป็นตัวเลือกได้ให้ไว้ ในวงเล็บ [ ] ระบบจะเลือกมาใช้ครั้งละ 1 อักขระเท่านั้น และจะต้องไม่มีการเว้นวรรคระหว่างตัวอักขระเหล่านี้ - `{ab,xy}`กลุ่มอักขระที่อาจเป็นตัวเลือกได้ ให้อยู่ในวงเล็บ { } คั่นชุดคำด้วยเครื่องหมาย , ระบบจะเลือกมาใช้ครั้งละ 1 ชุดอักขระ <word> xเป็นตัวเชื่อมที่ใช้ระบบสืบค้นรายการที่มีคำสะกดหรือวลีที่มีการสะกดตรงตามแบบที่ต้องการ Main Menu
เทคนิคการใช้ตัวเชื่อมในการสืบค้นแบบ Advanced Search : รหัสเขตข้อมูล ( Field Codes) รหัสเขตข้อมูล (Field Codes) ที่ควรทราบ เขตข้อมูล (Fields) รูปแบบที่ใช้สืบค้นเขตข้อมูล (Fields) รูปแบบที่ใช้สืบค้น Abstract ab สาระสังเขปISSN inเลขมาตรฐานประจำวารสาร Affiliation cs หน่วยงานที่ผู้เขียนสังกัดIssue part numberptรหัสย่อยของสมาชิก Article Title ti ชื่อเรื่องบทความJournal name jnชื่อวารสาร Author(s) au ผู้เขียนบทความMeeting date cy วัน, เดือน, ปี ที่ประชุม Catalog number ca เลขเรียกหนังสือPart number ptรหัสสมาชิก CODEN cn รหัสเรียกหนังสือPublication name jn ชื่อสำนักพิมพ์ Conference date cy วัน, เดือน, ปี ที่ประชุมSubject term deหัวเรื่อง Conference title ctชื่อการประชุมTitle tiชื่อเรื่องบทความ Editor(s) au ชื่อบรรณาธิการVolume voเล่มที่ ISBN in เลขมาตรฐานประจำหนังสือ Issue number isฉบับที่ Main Menu
การ Download Citation & Abstract 1 2 3 1. เลือก Download citation หรือ citation with abstract ในช่อง Download 2. เลือกรูปแบบ file ในช่อง File Format 3. คลิกปุ่ม Download Main Menu
การจัดการผลการสืบค้นข้อมูลการจัดการผลการสืบค้นข้อมูล การจัดการผลการสืบค้นข้อมูล SAVE PRINT Main Menu
การจัดการผลการสืบค้นข้อมูล : SAVE การบันทึกผลการสืบค้นลง Files Main Menu
การจัดการผลการสืบค้นข้อมูล : PRINT การพิมพ์ผลการสืบค้น Main Menu